Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: จับผิด .

Eng-Thai Lexitron Dict : จับผิด, more than 7 found, display 1-7
  1. carp at : (PHRV) ; จับผิด ; Related:บ่น(อย่างไร้เหตุผล)เกี่ยวกับ, หาเรื่อง ; Syn:cavil at
  2. catch up : (PHRV) ; จับผิด ; Related:แสดงให้เห็นว่าผิดจริง
  3. detect in : (PHRV) ; จับผิด ; Related:ตรวจจับ, จับเท็จ
  4. pick flaws/holes in : (IDM) ; จับผิด ; Related:หาข้อบกพร่อง
  5. pull apart : (PHRV) ; จับผิด ; Syn:take apart
  6. rend to pieces : (PHRV) ; จับผิด ; Related:หาข้อบกพร่อง ; Syn:take apart
  7. put someone/something on the pan : (IDM) ; จับผิด (คำไม่เป็นทางการ) ; Related:หาเรื่องใส่ความ
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : จับผิด, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : จับผิด, 6 found, display 1-6
  1. จับผิด : (V) ; carp ; Related:find fault with, cavil ; Def:จับความผิดของผู้อื่น ; Samp:ต่างฝ่ายต่างตั้งทีมจับผิดดูว่าใครจะทำอะไรที่ไม่ถูกต้อง
  2. จ้องจับผิด : (V) ; watch attentively for a mistake ; Related:be a watchdog ; Syn:คอยจับผิด, จับผิด ; Def:คอยสังเกตเพื่อจับความผิดของผู้อื่น ; Samp:ทั้งหูและตาของเถ้าแก่นั้น เหมือนจะคอยจ้องจับผิดเด็กลูกจ้างอยู่ตลอดเวลา
  3. หาเหตุ : (V) ; find fault ; Syn:หาเรื่อง, จับผิด ; Def:คอยหาข้อผิดพลาดของผู้อื่น ; Samp:พรรคฝ่ายค้านหาเหตุให้นายกรัฐมนตรีลาออก
  4. จับให้มั่นคั้นให้ตาย : (V) ; prove guilty ; Def:จะจับผิดใครต้องมีหลักฐานแน่ชัด ; Samp:การอภิปรายครั้งนี้ต้องเข้มข้น จับให้มั่นคั้นให้ตายให้ได้
  5. เป็นเอง : (V) ; do something oneself ; Syn:เป็นเสียเอง ; Def:ทำด้วยตนเอง, ทำละเมิดเสียด้วยตนเอง ; Samp:เขาก็ดีแต่จับผิดคนอื่นอยู่เรื่อย ทีตัวเองเป็นเองไม่เห็นพูดถึง
  6. สำบัดสำนวน : (V) ; quibble ; Syn:เล่นลิ้น ; Def:พูดจาหลีกเลี่ยงไม่ให้เข้าใจตรงๆ ; Samp:เมื่อถูกแม่จับผิดได้ เขาก็จะสำบัดสำนวนเอาตัวรอดไปได้เสมอ

Royal Institute Thai-Thai Dict : จับผิด, 10 found, display 1-10
  1. จับผิด : ก. จับความผิดของผู้อื่น, สรรหาเอาผิดจนได้.
  2. หาเหตุ : ก. คอยยกข้อผิด, จับผิด, เช่น เขาชอบหาเหตุฉันอยู่ตลอดเวลา; หาสาเหตุ, หาที่มา, เช่น ไฟไหม้ครั้งนี้หาเหตุไม่ได้; ข้ออ้าง เช่น เขาหา เหตุลาหยุดงาน.
  3. จับพลัดจับผลู : ก. จับผิด ๆ ถูก ๆ; บังเอิญเป็นไปโดยไม่ตั้งใจ.
  4. หยิบผิด : (โบ) ก. สรรหาเอาผิดจนได้, จับผิด.
  5. คอย ๑ : ก. มุ่งรออยู่, รอ; เฝ้า, เฝ้าดู, เช่น คอยจับผิด.
  6. จ้อง ๒ : ก. เพ่งตาดูหรือมุ่งมองดูสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น จ้องหน้า, มุ่งคอย จนกว่าจะได้ช่อง, คอยที, เช่น จ้องจับผิด จ้องจะทําร้าย จ้องจะแทง, กิริยา ที่เอาปืนหรืออาวุธเล็งมุ่งตรงไปยังสิ่งใดสิ่งหนึ่ง.
  7. เจื่อน : ก. เข้าหน้าไม่สนิทเพราะห่างเหินไปนาน เช่น หมู่นี้เขาเจื่อนไป, เจิ่น ก็ว่า; วางหน้าไม่สนิทเพราะกระดากอายเนื่องจากถูกจับผิดได้เป็นต้น เช่น หน้า เขาเจื่อนไป, เรียกหน้าที่มีลักษณะเช่นนั้นว่า หน้าเจื่อน.
  8. ตั้ง : ก. ชูตัว, ชูตัวหรือทําให้ทรงตัวในลักษณะที่ไม่ใช่นอนหรือล้ม, เช่น ขนตั้งชัน ต้นข้าว เอนแล้วกลับตั้งขึ้น ตั้งขวด ตั้งตุ๊กตา; ทรง, ดํารง, เช่น ตั้งอยู่ในคลองธรรม ตั้งอยู่ในศีลในธรรม; ทําให้มีขึ้น, สร้างให้มีขึ้น, เช่น ตั้งตําแหน่งใหม่ ตั้งบ้านตั้งเรือน; ยกฐานะให้สูงขึ้น เช่น ตั้งพระราชาคณะ ตั้ง เปรียญ; กําหนด เช่น ตั้งราคา; วาง เช่น ตั้งสํารับ; วางซ้อนกันมาก ๆ เช่น ตั้งหนังสือเป็นกองสูง; เริ่ม, เริ่มมี, เช่น ตั้งครรภ์ ตั้งเค้า ตั้งท้อง. บ. คําแสดงความหมายว่า มาก หรือ นาน เช่น เสียตั้งชั่ง ไปตั้งปี. น. ลักษณนามเรียกของที่วางซ้อนกันมาก ๆ เช่น หนังสือตั้งหนึ่ง หนังสือ ๒ ตั้ง, ครั้ง เช่น มาลองกันดูสักตั้ง. ตั้งกรม ก. สถาปนาเจ้านายขึ้นทรงกรม. ตั้งเข็ม, ตั้งเป้าหมาย ก. ตั้งความมุ่งหมาย, กําหนดจุดมุ่งหมาย. ตั้งไข่ ก. สอนยืน (ใช้แก่เด็ก). ตั้งเค้า ก. เริ่มแสดงท่าทีให้รู้ว่าจะเกิดอะไรขึ้น เช่น ฝนตั้งเค้า. ตั้งแง่ ก. ทําชั้นเชิง, ไม่ตรงไปตรงมา, คอยหาเรื่องจับผิด. ตั้งใจ, ตั้งอกตั้งใจ ก. เอาใจจดใจจ่อ. ตั้งต้น ก. เริ่มทํา, ขึ้นต้น. ตั้งตัว ก. ตั้งฐานะหรือตั้งหลักฐาน; ยกย่องตัว, สถาปนาตัว, เช่น ตั้งตัวเป็นหัวหน้า ตั้ง ตัวเป็นใหญ่. ตั้งตาคอย ก. เฝ้าคอย. ตั้งแต่ บ. นับจากเวลาหนึ่งหรือสถานที่หนึ่งเป็นต้นไป (มักใช้เข้าคู่กับคำ จนถึง หรือ จน กระทั่ง). ตั้งแต่ง ก. ยกขึ้น, สถาปนา. ตั้งโต๊ะ ก. จัดโต๊ะอาหาร; จัดโต๊ะหมู่บูชา. ตั้งท้อง ว. เรียกข้าวที่มีรวงอ่อน ๆ ว่า ข้าวตั้งท้อง. ตั้งท่า ก. วางท่า; เตรียมตัวพร้อม, คอยทีอยู่. ตั้งธาตุ ก. จัดระบบการย่อยอาหารให้เป็นปรกติ. ตั้งนาฬิกา ก. เทียบนาฬิกาให้ตรงเวลา. ตั้งนาฬิกาปลุก ก. ตั้งเวลาให้นาฬิกาปลุกตามที่ต้องการ. ตั้งหน้า, ตั้งหน้าตั้งตา ก. มุ่งหน้า; ตั้งใจทํา, ทําอย่างจริงจัง, มุ่งมั่น. ตั้งหัวเรือ ก. ทําให้เรืออยู่ในแนว ไม่ให้หัวเรือส่ายไปมา. ตั้งอกตั้งใจ ก. เอาใจจดจ่อ, ตั้งใจ ก็ว่า.
  9. หน้าเจื่อน : ว. วางหน้าไม่สนิทเพราะกระดากอายเนื่องจากถูกจับผิดได้ เป็นต้น.
  10. หน้าปูเลี่ยน ๆ : ว. อาการที่วางหน้าไม่สนิท กระดากอายเพราะถูกจับผิดได้ เป็นต้น, หน้าเจื่อน ก็ว่า.

Budhism Thai-Thai Dict : จับผิด, not found

ETipitaka Pali-Thai Dict : จับผิด, 2 found, display 1-2
  1. ฉิทฺทคเวสี : ค. ผู้เพ่งโทษคนอื่น, ผู้คอยจับผิดผู้อื่น, ผู้คอยมองหาจุดอ่อนผู้อื่น
  2. รนฺธคเวสี : ป. ผู้แสวงหาโทษ, ผู้คอยจับผิด

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : จับผิด, not found

(0.0379 sec)