Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ยาม , then ยาม, ยามะ, ยามา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ยาม, 54 found, display 1-50
  1. ยาม : (ปุ.) การสำรวม, ความสำรวม, การจำศีล. ยมุ วิรมเณ, โณ.
  2. ติยาม : (ปุ.) ยามสาม.
  3. ปุริมยาม : (ปุ.) ยามต้น, ยามแรก, ปฐมยาน.
  4. พฺยาม : (ปุ.) วา (๔ ศอก หรือ ๒ เมตร) วิ. วฺยามียเต อเนเนติ วฺยาโม พฺยาโม วา. วิปุพฺโพ, ยามฺ อญฺเช, อ.
  5. มชฺฌิมยาม : (ปุ.) ยามมีในท่ามกลาง, ยามท่ามกลาง, ยามกลาง, เที่ยงคืน.
  6. อายาม : (ปุ.) การชัก, การชักมา, ฯลฯ, ความยาว, ส่วนยาว.อาปุพฺโพ, ยา คติปาปุณเนสุโม.ยมุวาอุปรเม, อ. ส. อายาม.
  7. อุยฺยาม : (ปุ.) ความเพียร, ความหมั่น, ความพยายาม, ความขยัน, ความขยันขันแข็ง, การตั้งหน้าทำ. วิ. อุทฺธํ ยนฺติ เยน โส อุยฺยาโม. อุทฺธํปุพฺโพ, ยา คมเน, โม. ส. อุทฺยาม.
  8. จาตุยาม : ป. สังวรมีสี่ส่วน, สังวรมีสี่อย่าง, การสำรวมโดยส่วนสี่
  9. ธมฺมนิยาม : (ปุ.) ทำนองแห่งธรรม, ความแน่นอนแห่งธรรม, ธรรมดา, ธรรมนิยาม คือพระไตรลักษณ์.
  10. ธมฺมนิยามตา : (ปุ.) ทำนองแห่งธรรม, ความแน่นอนแห่งธรรม, พระไตรลักษณ์. ตา ปัจ สกัด.
  11. พฺยามปฺปภา : อิต. รัศมี ๑ วา ซึ่งซ่านออกจากพระกายของพระพุทธเจ้า
  12. พฺยามปฺปภาปริกฺขิต : (วิ.) อันแวดล้อมแล้วด้วยรัศมีมีวาหนึ่งเป็นประมาณ. หนึ่งเป็นคำเหน็บเข้ามา.
  13. มิจฺฉาวายาม : (ปุ.) ความเพียรผิด, ความเพียรที่ผิดจากคำสั่งสอนของศาสนา.
  14. วฺยาม : ป. วา
  15. วฺยายาม : ป .ความพยายาม
  16. สมฺมตตนิยาม : (ปุ.) การกำหนดซึ่งตนโดยชอบ, ความพิจารณาซึ่งตนโดยชอบ, ความกำหนดพิจารณาตนโดยชอบ. สมฺมา+อตฺต+นิยาม.
  17. สฺยาม : (ปุ.) ประเทศเจริญ, ประเทศรุ่งเรือง(ด้วยความดี), สยาม(สะหยาม), ประเทศสยาม. ปัจจุบันคือ ประเทศไทย (เปลี่ยนเมื่อ พ.ศ.๒๔๘๓). สุ วุทฺธิยํ, อามปจฺจโย. แปลง อุ เป็น ย.
  18. สุยาม : (ปุ.) สุยามะ ชื่อเทพบุตร
  19. อปพฺยาม : ป. ความไม่เคารพยำเกรง, ความไม่เอื้อเฟื้อ
  20. อปวฺยาม : ป. ความไม่เคารพยำเกรง, ความไม่เอื้อเฟื้อ
  21. ยาม : (อิต.) เทวดาชั้นยามะ วิ. ทุกฺขโต ยาตา อปคตาติ ยามา (ปราศจากความลำบาก). ทิพฺพสุขํ ยาตา ปยาตา สมฺปตฺตาติ ยามา (ถึงแล้วซึ่งความสุขอันเป็นทิพ). จากอภิธรรม.
  22. ขณิกตฺต : นป. ความมีเพียงชั่วครู่ชั่วยาม; ความหายไป
  23. จริยมนุสฺส : ป. คนคอยตรวจตรา, คนยาม
  24. จห : (ปุ.) ความตระเกียกตระกาย, ความพยา ยาม, ความสรรเสริญ. จหฺ ปริสกฺกนปริก- ตฺถเนสุ, อ.
  25. ติยามรตฺติ : (อิต.) ราตรีมียามสาม, คืนหนึ่ง มียามสาม.
  26. ทฺวารปาล : ป. คนเฝ้าประตู, ยามรักษาประตู
  27. ทฺวารปาล ทฺวารปาลก ทฺวารฏฺฐ : (ปุ.) คนผู้รักษาประตู, คนเฝ้าประตู, ยามประตู, นายประตู. ศัพท์หลัง ทฺวาร+ฐ ซ้อน ฏฺ.
  28. ทุพฺภิกข : นป. ทุพภิกขภัย, คราวที่หาอาหารได้ยาก, ยามข้าวยากหมากแพง, ความอดอยาก
  29. โทส : อ. ยามค่ำ, ตอนกลางคืน, ในเวลากลางคืน
  30. ธมฺมเนตฺติ : อิต. ดู ธมฺมนิยาม
  31. นกฺขตฺตวิชฺชา : (อิต.) ความรู้เรื่องดวงดาว, วิชาดูดาว, วิชาดูฤกษ์ยาม.
  32. นครทฺวารปาลก : (ปุ.) คนผู้รักษาซึ่งประตู แห่งพระนคร, ยามรักษาประตูพระนคร.
  33. นิยามตา : (อิต.) ทำนอง อุ. ธมฺมนิยามตา ทำนองแห่งธรรม. ตา ปัจ. สกัด.
  34. ปสิพฺพก : ป. กระสอบ, กะทอ, ถุง, ย่าม, กระเป๋าถือ
  35. ปุพฺเพนิวาสานุสฺสติญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเครื่องระลึกได้ซึ่งขันธปัญจกอันตนและสัตว์อื่นเคยอาศัยอยู่ในกาลก่อน, ฯลฯ. ศัพท์ทั้งสองนี้ เป็นชื่อของญาณที่ ๑ ในญาณ ๓ ซึ่งพระมหาบุรุษทรงบรรลุในยามแรกแห่งราตรีวันตรัสรู้.
  36. โพธกร : (ปุ.) คนทำซึ่งการปลุก, คนให้คนอื่นรู้ด้วยเสียงดาล, คนนั่งยามตีทุ่มโมง. วิ. โพธํ ปโพธนํ กโรตีติ โพธกโร. โพธ-ปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ.
  37. ยาปฺยยาน : (นปุ.) วอ วิ. ยามเปฺยหิ อธเมหิ ยายเตติ ยาปฺยยานํ.
  38. ยามิก : ป. คนเฝ้ายาม
  39. รกฺขนก : (ปุ.) คนเฝ้ายาม, คนยาม.
  40. เวตาลิก : ป. คนนั่งยามตีทุ่งโมง
  41. สารมฺก : (ปุ.) ความแข่งดี, ความเริ่ม, ความเริ่มแรก, ความริเริ่ม, ความแข่งขัน. สํ อา ปุพฺโฑ, รกฺ กรณวายามเนสุ. อ.
  42. สุมุหุตฺต : (ปุ.) ครู่ดี, ขณะดี, ยามดี, สุนฺทร+มุหุตฺต.
  43. อกฺขณ : (ปุ.) กาลมิใช่ขณะ, สมัยมิใช่ขณะ, โชคร้าย, ยามร้าย.
  44. อกาลิก : (วิ.) ประกอบด้วยกาลหามิได้, ไม่ประกอบด้วยกาล, ให้ผลมิได้เลือกซึ่งกาล, ให้ผลไม่เลือกเวลา, ให้ผลตลอดเวลา, ให้ผลทุกเวลา. เป็นคุณบทของพระธรรมบทที่ ๓ ใน ๖ บทพระพุทธศาสนาสอนว่าการทำความดีหรือความชั่วไม่เกี่ยวกับฤกษ์ยามทำเวลาไหนได้ผลทั้งสิ้น จะเป็นผลดีหรือชั่วแล้วแต่การทำ
  45. องฺควิชฺชา : (อิต.) วิชาทำนายอวัยวะ, วิชาดูลายมือ, วิชาดูลักษณะแห่งบุรุษสตรี, วิชาดูฤกษ์ยาม.
  46. อชฺฌกฺข : (ปุ.) คนดูการ, คนดูการณ์, คนตรวจการณ์, คนตรวจตรา, คนยาม, เจ้าพนักงาน.วิ. คาเมสุ อธิกตฺตา อธิกา อิกฺขา อนุภวน เมตสฺสาติ อชฺฌกฺโข.อธิ+อิกข แปลง อธิ เป็นอชฺฌ แปลง อิ ที่อิกฺข เป็น อ.
  47. อฏฺฏาลอฏฺฏาลก : (ปุ.) ที่ป้องกันอันตราย, หอรบ, หอคอย, ป้อม, ป้อมยาม. อฏฺฏปุพฺโพ, อลฺ นิวารเณ, โณ, ศัพท์หลังณฺวุ ปัจ.
  48. อฏฺฏาล อฏฺฏาลก : (ปุ.) ที่ป้องกันอันตราย, หอรบ, หอคอย, ป้อม, ป้อมยาม. อฏฺฏปุพฺ โพ, อลฺ นิวารเณ, โณ, ศัพท์หลัง ณฺวุ ปัจ.
  49. อติมุตฺต : (ปุ.) ลำดวน, จำยาม, ส้มป่อย.
  50. อติมุตฺตก : ป. ชื่อพระรูปหนึ่ง; ไม้จำยาม, ไม้ลำดวน, ไม้เต็ง, ไม้อุโลก
  51. [1-50] | 51-54

(0.0155 sec)