ThaiTux.info - feisty https://www.thaitux.info/taxonomy/term/215 ubuntu: รายงาน dosemu-1.4.0 https://www.thaitux.info/node/237 <div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><p>ทดสอบ dosemu บนอูบุนตู-feisty และ เดเบียน-lenny ที่เป็นแพกเก็จจากดิสโตรเอง ผลปรากฎว่าการทำงานราบรื่นขึ้น แต่ยังมีปัญหาพิมพ์ออกเครื่องพิมพ์เครือข่ายไม่ได้เหมือนเดิม<br /> จึงต้องกลับไปเอาแพกเกจจาก <a href="http://dosemu.org">DOSEMU.org</a> มาคอมไพล์เอง<br /> ขั้นตอนการคอมไพล์เหมือนที่ <a href="/node/18#comment-6">เคยคอมไพล์ไว้คราวก่อน</a></p> <p>มีที่แปลกออกไปคือ</p> <ol> <li>ตอน ./configure ใช้แค่พารามิเตอร์ --with-x ก็พอ</li> <li>คำสั่งในการปรับตั้งเครื่องพิมพ์ในไฟล์ /etc/dosemu/dosemu.conf ถูกปรับปรุงให้อ่านง่ายขึ้น คือ<br /> จากเดิม <code>$_printer_command = "lpr -l -P epson1, lpr -l -P epson2"</code><br /> กลายเป็น <pre>... $_lpt1 = "lpr -l -P epson1" $_lpt2 = "lpr -l -P epson2" ...</pre><p>ดูง่ายและเป็นระเบียบขึ้น</p></li> </ol> <p>ที่เหลือก็คงเหมือนเดิม</p> <p>เผื่อใครอยากลองแต่ขี้เกียจคอมไพล์เอง ลองดาวน์โหลดไปใช้ได้</p> <ul> <li>ของอูบุนตู Feisty <a href="/~wd/dosemu/dosemu_feisty_1.4.0-1_i386.deb">dosemu_feisty_1.4.0-1_i386.deb</a></li> <li>ของเดเบียน Lenny <a href="/~wd/dosemu/dosemu_lenny_1.4.0-1_i386.deb">dosemu_lenny_1.4.0-1_i386.deb</a></li> </ul> <p>แต่ยังไงก็ต้องทำในส่วนของ Freedos-1.0 เอาเอง และแพกเกจที่สร้างขึ้น ถูกสร้างขึ้นจาก checkinstall ดังนั้นจึงขาดคุณสมบัติของแพกเกจมาตรฐานของเดเบียนไปหลายอย่างครับ</p> <p>ผลการใช้งานก็รันได้เร็วและราบรื่นเหมือนเดิม สามารถพิมพ์ออกเครือข่ายได้เรียบร้อยครับ</p> </div></div></div><div class="field field-name-taxonomy-vocabulary-1 field-type-taxonomy-term-reference field-label-above"><div class="field-label">Topic:&nbsp;</div><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/taxonomy/term/2">ubuntu</a></div><div class="field-item odd"><a href="/taxonomy/term/3">debian</a></div><div class="field-item even"><a href="/taxonomy/term/27">dosemu</a></div><div class="field-item odd"><a href="/taxonomy/term/215">feisty</a></div><div class="field-item even"><a href="/taxonomy/term/225">lenny</a></div><div class="field-item odd"><a href="/taxonomy/term/228">freedos</a></div></div></div> Sat, 19 May 2007 09:09:48 +0000 wd 237 at https://www.thaitux.info https://www.thaitux.info/node/237#comments ubuntu: feisty - qemu https://www.thaitux.info/node/228 <div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><p>เดี๋ยวนี้ qemu พร้อม kqemu มีเป็นแบบแพกเกจเรียบร้อย การติดตั้งจึงต่างออกไปจากเดิม<br /> สำหรับใน Feisty การติดตั้งเป็นดังนี้</p> <p><strong>ส่วนของ qemu</strong><br /> ติดตั้ง qemu<br /> <code>$ sudo aptitude install qemu</code></p> <p><strong>ส่วนของ kqemu</strong><br /> ติดตั้ง module-assistant<br /> <code>$ sudo aptitude install module-assistant</code></p> <p>ติดตั้ง kqemu ผ่าน module-assistant<br /> <code>$ sudo m-a a-i kqemu</code></p> <p>ใน Feisty ไม่ยอมสร้าง /dev/kqemu ให้ ต้องทำเอง<br /> <code>$ sudo mknod /dev/kqemu c 250 0<br /> $ sudo chmod 666 /dev/kqemu<br /> $ sudo modprobe kqemu</code></p> <p><strong>ส่วนของเน็ตเวิร์ก</strong><br /> สร้างตาราง nat ไว้รอก่อน<br /> <code>$ sudo iptables -t nat -D POSTROUTING -j MASQUERADE -o eth0<br /> $ sudo iptables -t nat -A POSTROUTING -j MASQUERADE -o eth0</code></p> <p>ติดตั้งแพกเก็จชื่อ uml-utilities<br /> <code>$ sudo aptitude install uml-utilities</code></p> <p>เอาอินเทอร์เฟส tun ขึ้นมา<br /> <code>$ sudo modprobe tun<br /> $ sudo chmod 666 /dev/net/tun</code></p> <p>qemu จะใช้งานเน็ตเวิร์กผ่านอินเทอร์เฟส tap0 เราจึงต้องสร้าง tap0 ขึ้นมา สมมุติว่าเราชื่อ user1<br /> <code>$ sudo tunctl -u user1</code></p> <p>เสร็จแล้ว</p> <p>สมมุติว่าเรามีอิมเมจ winxp.img อยู่แล้ว สามารถเรียกใช้งาน qemu ด้วย<br /> <code>$ qemu -kernel-kqemu -hda winxp.img -net nic -net tap,ifname=tap0</code></p> <p><strong>บันทึกเกร็ดเพิ่มเติม</strong></p> <ul> <li>ทดสอบไปทดสอบมา ดูแล้ว qemu น่าใช้ที่สุด เนื่องจากการทำงานราบเรียบกว่า Xen, VirtualBox, kvm, VMWare แพ้แต่ Parallel เท่านั้น ถึงแม้จะรันช้ากว่า แต่มีข้อดีตรงที่เราสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามที่เราต้องการ</li> <li>ในขั้นตอนติดตั้งโปรแกรม ควรปิดการทำงานของ kqemu โดยถ้าเป็น Windows Xp ให้เอาออปชั่น -kernel-kqemu ออก และถ้าเป็น Windows 98-ME ให้เติมออปชั่น -no-kqemu</li> <li>ถ้าเป็นซีพียูตระกูลอินเทล - VT จะได้ความเร็วที่ราบรื่น แม้ไม่ได้ใส่ออปชั่น -kernel-kqemu ก็ตาม</li> <li>เวลาติดตั้งโปรแกรม ควรใช้ประโยชน์จากการที่ qemu สามารถทำ overlay ได้มีเทคนิกดังนี้ <ol> <li>สร้างอิมเมจหลักก่อน สมมุติว่าชื่อ winxp.qcow<br /> <code>$ qemu-img create -f qcow winxp.qcow 5G</code></li> <li>ติดตั้งวินโดวส์ โดยใช้ hda เป็น winxp.qcow จนเสร็จเรียบร้อย</li> <li>สร้าง Overlay image เพื่อเก็บอิมเมจเก่าไว้<br /> <code>$ qemu-img create -b winxp.qcow -f qcow winxp.ovl</code></li> <li>ติดตั้งโปรแกรม หรือทำการทดลองใด ๆ บน Overlay image ที่สร้างขึ้น</li> <li>ถ้าติดตั้งไม่ผ่าน หรือทดลองจนงานเละ ก็ให้ลบอิมเมจ winxp.ovl ทิ้งไป แล้วเริ่มขั้นตอนก่อนหน้านี้ใหม่</li> <li>ถ้าติดตั้งหรือทดลองจนเสร็จเรียบร้อยแล้ว และต้องการบันทึกงานเข้าไปรวมกับอิมเมจเก่า ให้ใช้คำสั่ง<br /> <code>$qemu-img commit winxp.ovl</code><br /> ผลคือข้อมูลใน winxp.ovl จะถูกบันทึกลงใน winxp.qcow และ winxp.ovl จะถูกลดขนาดลงมา พร้อมที่จะรับงานใหม่ต่อไป</li> </ol> </li><li>ทดสอบล่าสุดบนเดเบียน qemu รุ่น 0.8.2 ซีพียู Pentium E6300 พบว่า <ul> <li>บน WindowsXP สั่งด้วย qemu เฉย ๆ เร็วกว่าใช้พารามิเตอร์ -kernel-kqemu</li> <li>บน WindowsMe สั่งด้วย qemu -no-kqemu เร็วและเสถียรกว่า qemu เฉย ๆ (การสั่งด้วย qemu เฉย ๆ จะเปิดใช้งาน kqemu ในโหมด user โดยอัตโนมัติ)</li> <li>บน WindowsMe สั่งด้วย qemu-system-x86_64 เฉย ๆ เสถียรเท่ากับสั่งด้วย qemu -no-kqemu แต่ช้ากว่า</li> </ul> <p> สรุปว่าสำหรับ qemu ตั้งแต่รุ่น 0.8.2 เป็นต้นไป ต้องทดลองดูหลาย ๆ แบบ ดูว่าแบบไหนดีที่สุด ไม่จำเป็นต้องเป็นตามคู่มือเสมอไป</p></li> </ul> <p><strong>หมายเหตุ</strong></p> <ul> <li>ผมอัปเกรดจาก dapper ด้วยคำสั่ง aptitude dist-upgrade จึงอาจมีสคริปต์เก่าหลงเหลืออยู่ ไม่แน่ใจว่าถ้าติดตั้งอูบุนตูจากแผ่นติดตั้งของ Feisty ล้วน ๆ ขั้นตอนการติดตั้ง qemu จะต่างออกไปจากนี้หรือไม่</li> </ul> <p><strong>อ้างอิง</strong></p> <ul> <li><a href="http://bbs.archlinux.org/viewtopic.php?id=27298">http://bbs.archlinux.org/viewtopic.php?id=27298</a></li> <li><a href="http://compsoc.dur.ac.uk/~djw/qemu.html">http://compsoc.dur.ac.uk/~djw/qemu.html</a></li> <li><a href="http://ubuntuforums.org/showthread.php?t=179472">http://ubuntuforums.org/showthread.php?t=179472</a></li> <li><a href="https://help.ubuntu.com/community/WindowsXPUnderQemuHowTo">https://help.ubuntu.com/community/WindowsXPUnderQemuHowTo</a></li> <li><a href="http://ubuntuforums.org/showthread.php?p=2459231">http://ubuntuforums.org/showthread.php?p=2459231</a></li> <li><a href="http://ubuntuforums.org/showthread.php?t=392198&amp;highlight=kqemu">http://ubuntuforums.org/showthread.php?t=392198&amp;highlight=kqemu</a></li> <li><a href="http://kitty.in.th/index.php?room=lab&amp;id=303">http://kitty.in.th/index.php?room=lab&amp;id=303</a></li> </ul> </div></div></div><div class="field field-name-taxonomy-vocabulary-1 field-type-taxonomy-term-reference field-label-above"><div class="field-label">Topic:&nbsp;</div><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/taxonomy/term/2">ubuntu</a></div><div class="field-item odd"><a href="/taxonomy/term/215">feisty</a></div><div class="field-item even"><a href="/taxonomy/term/220">qemu</a></div></div></div> Mon, 30 Apr 2007 08:49:58 +0000 wd 228 at https://www.thaitux.info https://www.thaitux.info/node/228#comments ติดตั้งอูบุนตู Feisty ด้วย debootstrap จากเดเบียน Etch https://www.thaitux.info/node/222 <div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><p>สมมุติว่า mirror เราชื่อ www.example.com ได้ติดตั้ง apt-proxy สำหรับอูบุนตูไว้เรียบร้อยแล้ว<br /> (เวลาใช้งานจาก apt-proxy ต้องระบุพอร์ตเป็น 9999)</p> <p>และสมมุติว่าแบ่งพาร์ติชั่นไว้ดังนี้</p> <pre>/dev/hda1 = / เป็นเดเบียน Etch /dev/hda2 = ว่าง ขนาด 20G เตรียมสำหรับ Feisty /dev/hda3 = Extended /dev/hda5 = swap ขนาด 512M</pre><p>เราจะติดตั้งระบบใหม่บน /dev/hda2 ให้มีขนาด 20G เพื่อใช้เป็น / (root) ของระบบใหม่</p> <p>สร้างระบบไฟล์เป็น ext3<br /> <code># mkfs.ext3 /dev/hda2</code></p> <p>สร้างจุดเมานต์ให้ /dev/hda2 สมมุติว่าชื่อ /mnt/disk<br /> <code># mkdir -p /mnt/disk</code></p> <p>ก่อนจะติดตั้ง ต้องเมานต์ /dev/hda2 ลงบน /mnt/disk ก่อน<br /> <code># mount /dev/hda2 /mnt/disk</code></p> <p>ติดตั้ง debootstrap บน Etch<br /> <code># aptitude install debootstrap</code></p> <p>เนื่องจากแพกเกจ debootstrap ของ Etch ไม่มีสคริปต์สำหรับอูบุนตู Feisty<br /> เราจึงต้องไปดาว์นโหลดแพกเกจ debootstrap ของ Feisty เอง เพื่อมาแตกเอาไฟล์สคริปต์นี้<br /> <code># wget http://fr.archive.ubuntu.com/ubuntu/pool/main/d/debootstrap/debootstrap_0.3.3.2ubuntu3_all.deb</code><br /> <em>ถึงวันนี้ มิเรอร์ของไทย mirror.in.th ยังไม่อัปเดตครับ</em></p> <p>แตกด้วย Archive Manager เฉพาะไฟล์ที่ชื่อ feisty แล้วนำไปใส่ไว้ใน /usr/lib/debootstrap/scripts<br /> <code># cp feisty /usr/lib/debootstrap/scripts</code></p> <p>เริ่มติดตั้ง Feisty บน /mnt/disk ผ่าน debootstrap<br /> <code># debootstrap feisty /mnt/disk http://www.example.com:9999/debian</code></p> <p>เมื่อติดตั้งเสร็จแล้ว จำเป็นต้องคัดลอกไฟล์ที่จำเป็นในการเริ่มต้นระบบไปยัง /mnt/disk และทำการแก้ไขตามจำเป็น<br /> <code># cp /etc/hosts /mnt/disk/etc ; vi /mnt/disk/etc/hosts<br /> # cp /etc/networks/interface /mnt/disk/etc/networks ; vi /mnt/disk/etc/networks/interface<br /> # cp /etc/hostname /mnt/disk/etc ; vi /mnt/disk/etc/hostname<br /> # cp /etc/apt/sources.list /mnt/disk/etc/apt ; vi /mnt/disk/etc/apt/sources.list<br /> # cp /etc/fstab /mnt/disk/etc ; vi /mnt/disk/etc/fstab</code><br /> ตรงไฟล์ /mnt/disk/etc/fstab อย่าลืมเปลี่ยน /dev/hda1 เป็น /dev/hda2</p> <p>แก้ไขไฟล์ <code>/etc/apt/sources.list</code> เป็นดังนี้<br /> <code># vi /mnt/disk/etc/apt/sources.list</code></p> <pre>deb http://www.example.com:9999/ubuntu feisty main restricted universe multiverse deb-src http://www.example.com:9999/ubuntu feisty main restricted universe multiverse</pre><p> สร้างสภาพแวดล้อม เพื่อใช้ในการ chroot ไปยัง /mnt/disk<br /> <code># mount -t proc none /mnt/disk/proc<br /> # mount -o bind /dev /mnt/disk/dev<br /> # mount -t sysfs /sys /mnt/disk/sys</code></p> <p>chroot ไปยัง /mnt/disk<br /> <code># chroot /mnt/disk /bin/bash</code></p> <p>เริ่มการติดตั้งแพกเกจที่จำเป็นและปรับตั้งระบบ<br /> <code>(CHROOT)# mount -a<br /> (CHROOT)# aptitude update<br /> (CHROOT)# aptitude install locales console-data localeconf</code></p> <p>ปรับแต่ง locale ให้ด้วย<br /> <code>(CHROOT)# locale-def en_US.UTF-8<br /> (CHROOT)# dpkg-reconfigure locales localeconf</code></p> <p>ติดตั้งแพกเกจจำเป็นที่เหลือ<br /> <code>(CHROOT)# aptitude install initrd-tools usbutils pciutils bzip2 ssh grub udev yaird ubuntu-minimal ubuntu-standard</code></p> <p>( ถ้าต้องการระบบ X-Window ด้วย<br /> <code>(CHROOT)# aptitude install ubuntu-desktop xorg gdm gnome</code> )</p> <p>ติดตั้งเคอร์เนล<br /> <code>(CHROOT)# aptitude install linux-image-686</code></p> <p>อย่าลืมตั้งรหัสผ่านให้ root<br /> <code>(CHROOT)# passwd</code></p> <p>ปรับตั้งระบบใหม่ทั้งหมด<br /> <code>(CHROOT)# dpkg-reconfigure -a</code><br /> ตอบค่าปริยายทั้งหมด ยกเว้นส่วนของ locales, tzconfig, dash ให้ตอบตามต้องการ</p> <p>ออกจากสภาพ chroot<br /> <code>(CHROOT)# exit</code></p> <p>ยกเลิกการเมานต์ที่ผ่านมา<br /> <code># umount /mnt/disk/proc<br /> # umount /mnt/disk/dev<br /> # umount /mnt/disk/sys<br /> # ldconfig<br /> # sync</code><br /> (ถ้ายกเลิกเมานต์ไม่ผ่าน ไม่เป็นไร ให้ผ่านไปก่อน)</p> <p>ปรับตั้งการบูต<br /> <code># vi /boot/grub/menu.lst</code></p> <p>แก้ไขลำดับการบูต<br /> แก้จาก default 0 เป็น default 2</p> <pre>... default 2 ...</pre><p> เติมลำดับการบูตให้กับอูบุนตูใหม่ที่เราเพิ่งติดตั้งเสร็จ โดยต่อท้ายจากของเก่า</p> <pre>... title Ubuntu Feisty - Experiment, kernel 2.6.20-15-generic root (hd0,1) kernel /vmlinuz root=/dev/hda2 ro initrd /initrd.img savedefault ...</pre><p> เรียบร้อยแล้ว รีบูตใหม่ได้เลย<br /> <code># reboot</code></p> <p>จะได้อูบุนตู Feisty ที่ติดตั้งผ่าน debootstrap</p> <p><strong>หมายเหตุ</strong></p> <ul> <li>เนื่องจากติดตั้งข้ามดิสโตร เมื่อบูตด้วยอูบุนตูแล้ว อย่าลืมใช้คำสั่งชุดนี้ด้วย<br /> <code>$ sudo dpkg-reconfigure -a<br /> $ sudo aptitude update &amp;&amp; sudo aptitude dist-upgrade</code></li> <li>การทดลองจริง อาจไม่ราบรื่นแบบที่เขียน ถ้าผ่านขั้นตอนการติดตั้งเคอร์เนลแล้ว สามารถรีบูตเป็น Feisty แล้วมาทำต่อ อาจให้ผลที่ดีกว่า</li> </ul> </div></div></div><div class="field field-name-taxonomy-vocabulary-1 field-type-taxonomy-term-reference field-label-above"><div class="field-label">Topic:&nbsp;</div><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/taxonomy/term/55">debootstrap</a></div><div class="field-item odd"><a href="/taxonomy/term/80">etch</a></div><div class="field-item even"><a href="/taxonomy/term/215">feisty</a></div></div></div> Sun, 15 Apr 2007 11:04:49 +0000 wd 222 at https://www.thaitux.info https://www.thaitux.info/node/222#comments