Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: , then , .

Budhism Thai-Thai Dict : , 235 found, display 1-50
  1. วัสว : ชื่อของพระยามาร วสวัต
  2. อาราม : วั, ที่เป็นที่มายินี, สวนเป็นที่รื่นรมย์, ความยิน, ความรื่นรมย์, ความเพลิเพลิน; ในทางพระวินัย เกี่ยวกับสงฆ์ หมายถึง ของปลูกสร้างในอารามตลอจนต้นไม้
  3. ตโปทาราม : สวนซึ่งอยู่ใกล้ บ่อน้ำพุร้อนชื่อตโปทา ใกล้พระนครราชคฤห์ เป็นสถานที่แห่งหนึ่งที่พระพุทธเจ้าเคยทำนิมิตโอภาสแก่พระอานนท์
  4. ตทังคนิพพาน : “นิพพาน้วยองค์นั้น”, นิพพาน้วยองค์ธรรมจำเพาะ เช่น มองเห็นขันธ์ ๕ โยไตรลักษณ์แล้วหายทุกข์ร้อน ใจสงบสบายมีความสุขอยู่ตลอชั่วคราวนั้นๆ, นิพพานเฉพาะกรณี
  5. ตทังคปหาน : “การละ้วยองค์นั้น”, การละกิเลส้วยองค์ธรรมที่จำเพาะกันนั้น คือละกิเลส้วยองค์ธรรมจำเพาะที่เป็นคู่ปรับกัน แปลง่ายๆ ว่า การละกิเลส้วยธรรมที่เป็นคู่ปรับ เช่น ละโกรธ้วยเมตตา (แปลกันมาว่า การละกิเลสไ้ชั่วคราว)
  6. ตทังควิมุตติ : พ้น้วยองค์นั้นๆ หมายความว่า พ้นจากกิเลส้วยอาศัยธรรมตรงกันข้ามที่เป็นคู่ปรักกัน เช่น เกิเมตตา หายโกรธ เกิสังเวช หายกำหนั เป็นต้น เป็นการหลุพ้นชั่วคราว และเป็นโลกิยวิมุตติ ดู วิมุตติ
  7. ตปุสสะ : พ่อค้าที่มาจารอุกกลชนบท คู่กับภัลลิกะ พบพระพุทธเจ้าขณะประทับอยู่ ณ ภายใต้ต้นไม้ราชายตนะ ภายหลังตรัสรู้ใหม่ๆ ไ้ถวายเสบียงเินทาง คือ ข้าวสัตตุผล ข้าวสัตตุก้อน แล้วแสงตนเป็นอุบาสก ถึงพระพุทธเจ้ากับพระธรรมเป็นสรณะ นับเป็นปฐมอุบาสกผู้ถึงสรณะ ๒ ที่เรียกว่า เทฺววาจิก
  8. ทัสสนานุตตริยะ : การเห็นที่ยอเยี่ยม (ข้อ ๑ ในอนุตตริยะ ๓ หมายถึงปัญญาอันเห็นธรรม ตลอถึงเห็นนิพพาน; ข้อ ๑ ในอนุตตริยะ ๖ หมายถึง เห็นพระตถาคต ตถาคตสาวก และสิ่งอันบำรุงจิตใจให้เจริญ)
  9. ปัญญาวิมุตต : ความหลุพ้น้วยปัญญา, ความหลุพ้นที่บรรลุ้วยการกำจัอวิชชาไ้ ทำให้สำเร็จอรหัตตผล และทำให้เจโตวิมุตติ เป็น เจโตวิมุตติที่ไม่กำเริบ คือ ไม่กลับกลายไ้อีกต่อไป เทียบ เจโตวิมุตติ
  10. โลกุตรสุข : ความสุขอย่างโลกุตตระ, ความสุขที่เหนือกว่าระับของชาวโลก, ความสุขที่เหนือกว่าระับของชาวโลก, ความสุขเนื่อง้วยมรรค ผล นิพพาน
  11. สิทธัตถกุมาร : พระนามเิมของพระพุทธเจ้า ก่อนเส็จออกบรรพชา ทรงเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะและพระนางสิริมหามายา คำว่า สิทธัตถะ แปลว่า มีความต้องการสำเร็จหรือสำเร็จตามที่ต้องการ คือสมประสงค์ จะต้องการอะไรไ้หม ทรงอภิเษกสมรสกับพระนางยโสธรา เมื่อพระชนมายุ ๑๖ ปี เส็จออกบรรพชาเมื่อพระชนมายุ ๒๙ ปี ไ้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า เมื่อพระชนมายุ ๓๕ ปี ปรินิพพานเมื่อพระชนมายุ ๘๐ ปี
  12. อชาตศัตรู : โอรสของพระเจ้าพิมพิสารกับพระนางโกศลเทวี กษัตริย์แคว้นมคธ ขณะพระนางโกศลเทวีทรงครรภ์ ไ้แพ้ท้องอยากเสวยโลหิตของพระเจ้าพิมพิสาร พระเจ้าพิมพิสารทรงทราบจึงเอาพระขรรค์แทงพระชานุ (เข่า) รองพระโลหิตให้พระนางเสวย โหรทำนายว่า พระโอรสที่อยู่ในครรภ์เกิมาจะทำปิตุฆาต พระนางโกศลเทวีพยายามทำลาย้วยการให้แท้งเสีย แต่ไม่สำเร็จ ในที่สุคิจะรี แต่พระเจ้าพิมพิสารทรงห้ามไว้ เมื่อครบกำหนประสูติเป็นกุมาร จึงตั้งพระนามพระโอรสว่า อชาตศัตรู แปลว่า เป็นศัตรูตั้งแต่ยังไม่เกิ ในที่สุเจ้าชายอชาตศัตรูก็คบคิกับพระเทวทัตฆ่าพระราชบิาตามที่โหรทำนายไว้ และไ้ขึ้นครองราชสมบัติแคว้นมคธ ณ กรุงราชคฤห์ แต่ทรงสำนึกและกลับพระทัยไ้ หันมาทรงอุปถัมภ์บำรุงพระพุทธศาสนา และไ้เป็นพุทธศาสนูปถัมภก ในการสังคายนาครั้งที่ ๑ (คำ “อชาตศัตรู” บางท่านแปลใหม่ว่า มิไ้เกิมาเป็นศัตรู)
  13. อนุตตริยะ : ภาวะที่ยอเยี่ยม, สิ่งที่ยอเยี่ยม มี ๓ คือ ๑) ทัสสนานุตตริยะ การเห็นอันเยี่ยม คือ เห็นธรรม ๒) ปฏิปทานุตตริยะ การปฏิบัติอันเยี่ยม คือ มรรคมีองค์ ๘ ๓) วิมุตตานุตตริยะ การพ้นอันเยี่ยม คือ พ้นกิเลสและกองทุกข์; อนุตตริยะอีกหมวหนึ่งมี ๖ คือ ๑) ทัสสนานุตตริยะ การเห็นอันเยี่ยม ๒) สวนานุตตริยะ การฟังอันเยี่ยม ๓) ลาภานุตตริยะ ลาภหรือการไ้อันเยี่ยม ๔) สิกขานุตตริยะ การศึกษาอันเยี่ยม ๕) ปาริจริยานุตตริยะ การบำรุงอันเยี่ยม ๖) อนุสสตานุตตริยะ การระลึกอันเยี่ยม ดู คำอธิบายที่คำนั้นๆ
  14. อังคุตตรนิกาย : ชื่อนิกายที่ ๔ ในบรรานิกาย ๕ แห่งพระสุตตันตปิฎก เป็นที่ชุมนุมพระสูตรซึ่งจัเข้าลำับตามจำนวนหัวข้อธรรม เป็นหมว ๑ (เอกนิบาต) หมว ๒ (ทุกนิบาต) เป็นต้น จนถึงหมว ๑๑ (เอกาทสนิบาต)
  15. อาทิตตปริยายสูตร : ชื่อพระสูตรที่พระพุทธเจ้าทรงแสงแก่ภิกษุประมาณ ๑,๐๐๐ รูป มีอุรุเวลกัสสป เป็นต้น ซึ่งเคยเป็นชฏิลบูชาไฟมาก่อน ว่า้วยอายตนะทั้ง ๖ ที่ร้อนติไฟลุกทั่ว ้วยไฟราคะ ไฟโทสะ และไฟโมหะ ตอลจนร้อน้วยทุกข์ มีชาติ ชรามรณะ เป็นต้น ทำให้ภิกษุเหล่านั้นบรรลุอรหัตตผล (มาในคัมภีร์มหาวรรค แห่งพระวินัยปิฎก และสังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค พระสุตตันตปิฎก)
  16. กฐินัตถารกรรม : การกรานกฐิน
  17. กังขาวิตรณวิสุทธิ : ความบริสุทธิ์้วยหมสงสัยในนามรูป คือ กำหนรู้ปัจจัยแห่งนามรูปไ้ว่า เพราะอะไรเกินามรูปจึงเกิ เพราะอะไรับ นามรูปจึงับ
  18. กัมมชวาต : (เพิ่ม)
  19. กัลยาณมิตตตา : ความมีเพื่อนเป็นคนี ไม่คบคนชั่ว - good friendship; good company; association with the virtuous.
  20. ตู่ : กล่าวอ้างหรือทึกทักเอาของผู้อื่นว่าเป็นของตัว, กล่าวอ้างผิตัว ผิสิ่ง ผิเรื่อง, ในคำว่า กล่าวตู่พระพุทธเจ้า หรือตู่พุทธพจน์ หมายความว่า อ้างผิๆ ถูกๆ, กล่าวสิ่งที่ตรัสว่ามิไ้ตรัส กล่าวสิ่งที่มิไ้ตรัสว่าไ้ตรัสไว้, พูให้เคลื่อนคลาหรือไขว้เขวไปจากพุทธำรัส, พูใส่โทษ, กล่าวข่มขี่, พู เช่น คัค้านให้เห็นว่า ไม่จริงหรือไม่สำคัญ
  21. เทวปุตตมาร : มารคือเทพบุตร, เทวบุตรเป็นมาร เพราะเทวบุตรบางตนที่มุ่งร้าย คอยขัขวางเหนี่ยวรั้งบุคคลไว้ไม่ให้สละความสุขออกไปบำเพ็ญคุณธรรมที่ยิ่งใหญ่ ทำให้บุคคลนั้นพินาศจากความี, คัมภีร์สมัยหลังๆ ออกชื่อว่า พญาวสวัตตีมาร (ข้อ ๕ ในมาร ๕)
  22. ปรมัตถมัญชุสา : ชื่อคัมภีร์ฎีกาที่พระธรรมบาลรจนาขึ้น เพื่ออธิบายความในคัมภีร์วิสุทธิมรรคของพระพุทธโฆษาจารย์; นิยมเรียกว่า มหาฎีกา
  23. มหาปรันตปะ : นามหนึ่งที่บางท่านถือมาว่าอยู่ในรายชื่ออสีติมหาสาวก แต่ไม่ปรากฏว่ามีชาติภูมิเป็นมาอย่างไร บางทีจะเกิจากความสับสนกับพระนามพระราชบิาของพระเจ้าอุเทน (ที่ถูก คือ ปุณณ สุนาปรันตะ)
  24. มานัตตจาริกภิกษุ : ภิกษุผู้ประพฤติมานัต
  25. มิตตปฏิรูป : คนเทียมมิตร, มิตรเทียม ไม่ใช่มิตรแท้ มี ๔ พวก ไ้แก่ ๑.คนปอกลอก มีลักษณะ ๔ คือ ๑.คิเอาแต่ไ้ฝ่ายเียว ๒.ยอมเสียน้อยโยหวังจะเอาให้มาก ๓.ตัวมีภัย จึงมาช่วยทำกิจของเพื่อน ๔.คบเพื่อนเพราะเห็นแก่ประโยชน์ของตัว ๒.คนีแต่พู มีลักษณะ ๔ คือ ๑.ีแต่ยกของหมแล้วมาปราศรัย ๒.ีแต่อ้างของยังไม่มีมาปราศรัย ๓.สงเคราะห์้วยสิ่งหาประโยชน์มิไ้ ๔.เมื่อเพื่อนมีกิจ อ้างแต่เหตุขัข้อง ๓.คนหัวประจบ มีลักษณะ ๔ คือ ๑.จะทำชั่วก็เออออ ๒.จะทำีก็เออออ ๓.ต่อหน้าสรรเสริญ ๔.ลับหลังนินทา ๔.คนชวนฉิบหาย มีลักษณะ ๔ คือ ๑.คอยเป็นเพื่อนื่มน้ำเมา ๒.คอยเป็นเพื่อนเที่ยวกลางคืน ๓.คอยเป็นเพื่อนเที่ยวูการเล่น ๔.คอยเป็นเพื่อนไปเล่นการพนัน
  26. โลกุตตมาจารย์ : อาจารย์ผู้สูงสุของโลก, อาจารย์ยอเยี่ยมของโลก หมายถึงพระพุทธเจ้า
  27. โลกุตตระ : พ้นจากโลก, เหนือโลก, พ้นวิสัยของโลก, ไม่เนื่องในภพทั้ง ๓ (พจนานุกรม เขียน โลกุตตร) คู่กับ โลกิยะ
  28. โลกุตตราริยมรรคผล : อริยมรรคและอริยผลที่พ้นวิสัยของโลก
  29. วรฺคานฺต : สวนป่า เช่น สาลวโนทยาน คือ สวนป่าไม้สาละ
  30. วัตตขันธกะ : ชื่อขันธกะที่ ๘ แห่งคัมภีร์จุลวรรค วินัยปิฎก ว่า้วยวัตรประเภทต่างๆ
  31. วัตตปฏิบัติ : ดู วัตรปฏิบัติ
  32. วัตตเภท : ความแตกแห่งวัตรหมายความว่าละเลยวัตร, ละเลยหน้าที่ คือไม่ทำตามข้อปฏิบัติที่กำหนไว้ เช่น ภิกษุผู้กำลังประพฤติมานัต หรือกำลังอยู่ปริวาส ละเลยวัตรของตน พระอรรถกถาจารย์ปรับอาบัติทุกกฏ
  33. วินีตวัตถุ : เรื่องที่ท่านวินิจฉัยแล้ว, เรื่องที่ตัสินแล้ว ท่านแสงไว้เป็นตัวอย่างสำหรับเทียบเคียงตัสิน ในการปรับอาบัติ (ทำนองคำพิพากษาของศาลสูงสุที่นำมาศึกษากัน)
  34. สมันตจักขุ : จักษุรอบคอบ, ตาเห็นรอบ ไ้แก่พระสัพพัญญุตญาณ อันหยั่งรู้ธรรมทุกประการ เป็นคุณสมบัติพิเศษของพระพุทธเจ้า (ข้อ ๕ ในจักขุ ๕)
  35. สมันตปาสาทิกา : ชื่อคัมภีร์อรรถกถาอธิบายความในพระวินัยปิฎก พระพุทธโฆษาจารย์เรียบเรียงขึ้น เมื่อ พ.ศ.ใกล้จะถึง ๑๐๐๐ โยปรึกษาอรรถกถาภาษาสิงหฬที่มีอยู่ก่อน ชื่อ มหาปัจจริย และกุรุนที
  36. สัญจริตตะ : การชักสื่อให้ชายหญิงเป็นผัวเมียกัน เป็นชื่อสังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๕ ที่ห้ามการชักสื่อ
  37. สัตตถะ : เกวียน, ต่าง, หมู่เกวียน, หมู่พ่อค้าเกวียน
  38. สัตตสติกขันธกะ : ชื่อขันกะที่ ๑๒ แห่งจุลวรรคในพระวินัยปิฏก ว่า้วยการสังคายนาครั้งที่ ๒
  39. สาณัตติกะ : อาบัติที่ต้องเพราะสั่ง คือสั่งผู้อื่นทำ ตัวเองไม่ไ้ทำ ก็ต้องอาบัติ เช่น สั่งให้ผู้อื่นลักทรัพย์ เป็นต้น
  40. สุตตันตปิฎก : ดู ไตรปิฏก
  41. อชาตปฐพี : ปฐพีไม่แท้ คือินที่เป็นหินเป็นกรว เป็นกระเบื้อง เป็นแร่ เป็นทรายล้วน หรือมีินร่วนินเหนียวน้อย เป็นของอื่นมากก็ินที่ไฟเผาแล้วก็ี กองินร่วน หรือกองินเหนียว ที่ฝนตกรหย่อนกว่า ๔ เือนก็
  42. อนิมิตตวิโมกข์ : หลุพ้น้วยไม่ถือนิมิต คือ หลุพ้น้วยพิจารณาเห็นนามรูปเป็นอนิจจะ แล้วถอนนิมิตไ้ (ข้อ ๒ ในวิโมกข์ ๓)
  43. อนิมิตตสมาธิ : สมาธิอันพิจารณาธรรมไม่มีนิมิต คือ วิปัสสนาที่ให้ถึงความหลุพ้น้วยกำหนอนิจจลักษณะ (ข้อ ๒ ในสมาธิ ๓)
  44. อรหัตตผล : ผลคือการสำเร็จเป็นพระอรหันต์, ผลคือความเป็นพระอรหันต์, ผลที่ไ้รับจากการละสังโยชน์ทั้งหม อันสืบเนื่องมาจากอรหัตตมรรค ทำให้เป็นพระอรหันต์
  45. อรหัตตวิโมกข์ : ความพ้นจากกิเลส้วยอรหัต หรือเพราะสำเร็จอรหัต คือ หลุพ้นขั้นละกิเลสไ้สิ้นเชิงและเขา สำเร็จเป็นพระอรหันต์
  46. อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า : พระอรหันต์ผู้ตรัสรู้ชอบ้วยพระองค์เอง หมายถึง พระพุทธเจ้า
  47. อัตตภาพ : ความเป็นตัวตน, ชีวิต, เบญจขันธ์, บันี้เขียน อัตภาพ
  48. อัตตวาทุปาทาน : การถือมั่นวาทะว่าตน คือ ความยึถือสำคัญมั่นหมายว่า นั่นนี่เป็นตัวตน เช่น มองเห็นเบญจขันธ์เป็นอัตตา, อย่างหยาบขึ้นมา เช่น ยึถือมั่นหมายว่า นี่เรา นั่นของเรา จนเป็นเหตุแบ่งแยกเป็นพวกเรา พวกเขา และเกิความถือพวก (ข้อ ๔ ในอุปาทาน ๔)
  49. อัตตวินิบาต : ทำลายตัวเอง, ฆ่าตัวเอง; บันี้เขียน อัตวินิบาต
  50. อัตตสุทธิ : การทำตนให้บริสุทธิ์จากบาป
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-235

(0.0321 sec)