Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เริ่ม , then รม, เริ่ม .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เริ่ม, 109 found, display 51-100
  1. กุญฺชร : (ปุ.) ช้าง, ช้างพลาย. วิ. กุญฺโช หนุ ทนฺโต จ, ตํโยคา กุญฺชโร. ร ปัจ. กํ ปฐ วึ ตทภิฆาเตน ชราเปตีติ วา กุญฺชโร. กุปุพฺโพ, ชรฺ วโยหานิมฺหิ, อ, อลุตฺตสมาโส อถวา, กุญฺเช คิริกูเฏ รมติ, โกญฺจนาทํ นทนฺโต วา จรตีติ วา กุญฺชโร. อภิฯ. รูปฯ ๓๘๕ วิ. กุญฺชา หนุ เอตสฺส สนฺตีติ กุญฺชโร. รปัจ. กัจฯ ๓๖๘ วิ. กุญฺชา ยสฺส อตฺถิ ตสฺมึ วา วิชฺชตีติ กุญฺชโร. รปัจ. กัจฯ ๓๖๘ วิ. กุญฺชา ยสฺส อตฺถิ ตสฺมึ วา วิชฺชตีติ กุญฺชโร. ร ปัจ. รูปฯ ๕๗๐ วิ. กุญฺเช รมตีติ กุญฺชโร. กุญฺชปุพฺโพ, รมุ กีฬายํ, กฺวิ. ส. กุญฺชร.
  2. กุลฺลกวิหาร : ป. วิหารธรรมตื้นๆ , ธรรมเป็นเครื่องอยู่อย่างง่ายๆ, ความเป็นอยู่อย่างธรรมดา
  3. กุเหลิกา : อิต. การอบ, การรมควัน
  4. ครุกมฺม ครุกกมฺม : (นปุ.) กรรมหนัก. กรรม หนักฝ่ายกุศลได้สมาบัติ ๘ ฝ่ายอกุศล ได้แก่ อนันตริยกรรม ๕. วิ. กมฺมนตเรหิ ปฏิพาหิตํ อสกฺกุเณยฺยตฺตา ครํ ครุกํ วา กมฺมนฺติ ครุกมฺมํ ครุกกมฺมํ วา.
  5. จิตฺตเกฬิสา : อิต. ความรื่นรมแห่งจิตใจ
  6. ฉตฺต ฉตฺร : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ร่ม (เครื่องสำหรับกางป้องกันแดดเป็นต้น). วิ. อาตปาทึ ฉาเทตีติ ฉตฺตํ ฉตฺรํ วา. ฉทฺ สํวรเณ อปวารเณ จ, โต, ตฺรโณ. ฉัต ฉัตร ชื่อของเครื่องกกุธภัณฑ์ อย่าง ๑ ใน ๕ อย่าง อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของเครื่องสูง ทำเป็นชั้นๆ มีเสาเป็นแกน ชั้นใหญ่อยู่ ข้างล่าง ชั้นถัดขึ้นไปเล็กลงตามลำดับ ทำ ชั้นบ้าง ๕ ชั้นบ้างทำเป็น ๗ ชั้น สำหรับท่านผู้มีเกียรติอย่างสูง สำหรับพระ ราชาทำเป็น ๙ ชั้น ผู้อื่นจะทำเป็น ๙ ชั้น ไม่ได้ ส. ฉตฺร.
  7. ฉาทิ : อิต. เงา, ร่ม, ร่มเงา
  8. ฉายา : (อิต.) เค้า คือสิ่งที่เป็นเครื่องกำหนด หมายให้รู้ สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ว่ามีลักษณะ เหมือนสิ่งอื่น, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณที่ไม่ถูกแดดไม่ถูกฝน), รูป, รูป เปรียบ, แสงสว่าง, ฉายา คือ ชื่อที่พระ – อุปัชฌายะตั้งให้เป็นภาษามคธเมื่ออุปสม – บท. วิ. เฉติ สํสยนฺติ ฉายา. ฉา เฉทเน, โย. ฉินฺทติ ปริสฺสมนฺติ วา ฉายา. ไทยใช้ เรียกชื่อภาษาไทยที่ตั้งกันเล่นๆตามลักษ – ณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ เช่น เปี๊ยก ว่ามี ฉายาว่า นายเปี๊ยก นอกจากนี้ยังหมายถึง นางผู้โฉมงามหรือเมียอีกด้วย.
  9. ชนฺตาฆร : (นปุ.) เรือนเป็นที่รักษาซึ่งชน ผู้ ผจญซึ่งไพรีคือโรค, เรือนไฟ โรงไฟ (ห้องสำหรับรมไฟเพื่อให้เหงื่อออก). วิ. ชนฺตา เอว ฆรํ ชนฺตาฆรํ.
  10. ตชฺชนียกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำแก่ ภิกษุผู้อันสงฆ์จะต้องคุกคาม, ตัชนียกรรม เป็นชื่อการลงโทษอย่างหนึ่งตามพระวินัย ซึ่งสงฆ์ทำแก่ภิกษุผู้มีความผิด ๓ ประการ คือ เป็นผู้ประพฤติไม่เหมาะสม คือ ๑ . ๑ มักทำการบาดหมาง ทะเลาะ – วิวาท ฯลฯ ๑ . ๒ เป็นพาลมีอาบัติมาก มีมรรยาท ไม่สมควร ๑ . ๓ คลุกคลีกับคฤหัสถ์อันไม่ สมควร เป็นผู้มีศีลวิบัติ อาจารวิบัติ และ ทิฏฐิวิบัติ และ ๓. กล่าวติเตียน พระพุทธ พระธรรม หรือพระสงฆ์ แม้อย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ ลงตัชนิยกรรมได้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัติติจตุตถกรรมวาจา ไตร. ๖/๓
  11. ทณฺฑ : (ปุ.) ทัณฑะ ( รุกรม ) ชื่ออุบายเอาชนะ อริราชศัตรูอย่างที่ ๒ ใน ๔ อย่าง ( อีก ๓ อย่างคือ เภทะ การทำให้แตกกัน สามะ การผูกไมตรี ทานะ การให้สินบน ). ทณฺฑฺ ทณฺฑนิปาตเน, อ. ทมุ ทมเน วา, โฑ. แปลง มฺ เป็น ณฺ ทฑิ อาณาปหรเณสุ, อ, นิคฺคหิตาคโม.
  12. ทสวิธราชธมฺม : (ปุ.) ธรรมของพระราชามี อย่างสิบ, ธรรมของพระเจ้าแผ่นดินสิบ อย่าง, ทศพิธราชธรรมล ทศพิธราชธรรมเป้นหลักะรรมประจำองค์พระเจ้าแผ่นดินและเป็นคุณธรรมของผู้ปกครองบ้าน เมืองทั้งหลายด้วยมี ๑๐ อย่างคือ ทาน ศีล บริจาค อาชวะมัทวะ ตบะ อักโกธะ อวิหิงสาขันติ และอวิโรธนะ
  13. เทยฺยธมฺม : (ปุ.) ของอัน...พึงให้, สักการะมี ความเป็นของอันบุคคลพึงให้, ของควรให้, ไทยะรรมของสำหรับทำบุญของถวายพระ (เครื่องสักการะ).
  14. ธมฺมภณฺฑาคาริก : (ปุ.) ภิกษุผู้รักษาซึ่งเรือน แห่งภัณฑะคือธรรม, ธรรมภัณฑะคาริกะ ชื่อของพระอานนท์, พระอานนท์.
  15. ธมฺมมาธมฺม : (ปุ.) ธรรมและสภาวะมิใช่ธรรม, ความควรและความไม่ควร, ความถูกและความผิด, ยุติธรรมและอยุติธรรม.
  16. ธมฺมราช : (ปุ.) พระราชาแห่งะรรม, พระราชาโดยธรรม, พญาโดยธรรม, พระธรรมราชาเป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. ธมฺมสฺส ราชา ธมฺมราชา. ธมฺมสฺส วา ราชาปวคฺคกคฺคา ธมฺมราชา. ธมฺมเมน ราชตีติ วา ธมฺมราชา. ส. ธรฺมราช.
  17. ธมฺมรุจิ : (อิต.) ความพอใจในธรรม, ความชอบใจนะรรม, ความยินดีในธรรม.
  18. ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺค : (นปุ.) องค์แห่งะรรมเป็นเครื่องตรัสรู้คือการเลือกเฟ้นซึ่งธรรม ฯลฯ.
  19. ธมฺมเสนานี : (ปุ.) แม่ทัพแห่งะรรม, แม่ทัพ ธรรม.
  20. ธูปน : (นปุ.) การอบ, การรม, การอบควัน, เครื่องหอม, เครื่องฉุน, เครื่องเทศ. ธูปฺ สนฺตาเป, ยุ.
  21. ธูปายติ : ก. บังหวนควัน, รมควัน
  22. ธูปายิต ธูปิต : (วิ.) เป็นควัน, กลุ้มเป็นควัน, อบควัน, รมควัน.
  23. ธูเปติ : ก. อบหรือรมควันด้วยน้ำมัน, บังหวนควัน
  24. ธูมายติ : ก. รมควัน, บังหวนควัน, เป็นควันขึ้น, มืดมัว
  25. ธูมายนา : อิต. การบังหวนควัน, การรมควัน
  26. นิทฺธูปน : ค. ซึ่งไม่มีกลิ่นหอม, ซึ่งไม่อบกลิ่น, ซึ่งไม่รมควัน
  27. นิยสกมฺม : (นปุ.) นิยศกรรม นิยสกัม คือ การถอดยศ ทำด้วยวิธีญัตติจตุถกรรม. ไตร. ๖.
  28. ปญฺจานนฺตริย : นป. อนันตริยกรรมห้า, กรรมหนักห้าประการ (ฆ่ามารดา, ฆ่าบิดา, ฆ่าพระอรหันต์, ทำพระโลหิตของพระพุทธเจ้าให้ห้อ, ทำลายสงฆ์ให้แตกกัน)
  29. ปฏิสารณิยกมฺม : นป. ปฏิสารณียกรรม, กรรมเนื่องด้วยการลงโทษพระภิกษุผู้ทำความผิดต่อคฤหัสถ์โดยให้ไปขอขมาเขา
  30. ปพฺพาชนิยกมฺม : นป. ปัพพาชนียกรรม, กรรมที่สงฆ์กระทำแก่ภิกษุผู้ควรถูกขับไล่, การลงโทษด้วยการขับไล่จากอาวาส
  31. ปพฺพาชนียกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำ แก่ภิกษุผู้อันสงฆ์พึงขับไล่, กรรมอันสงฆ์ พึงทำแก่ภิกษุผู้มีอธิกรณ์อันสงฆ์พึงขับไล่, การขับไล่, ปัพพาชนียกรรม ชื่อกิจที่สงฆ์ พึงทำแก่ภิกษุผู้ประทุษร้ายตระกูลหรือ ประพฤติลามกให้ออกไปเสียจากหมู่ (วัด) ทำด้วยวิธีญัตติจตุตถกรรม. ไตร. ๖.
  32. ปรม : (วิ.) ยอด, ยอดเยี่ยม, ยอดยิ่ง, อย่างยิ่ง, อย่างเยี่ยม, อย่างยอด, เป็นยอด, สูงสุด, ที่สุด, สนิท, เต็มเปี่ยม, อุดม, บรม. วิ. นตฺถิ อญฺญ ปรํ เอตสฺมาติ ปรมํ. ม ปัจ. แทน นตฺถิ. ปรํ ปจฺจนีกํ มาเรตีติ ปรมํ. ปกฏฺฐภาเว รมตีติ วา ปรมํ. อถวา, ปรติ อตฺตโน อุตฺตมภาวํ ปาเลติ ปูเรติ วาติ ปรมํ. ปรฺปาลเน, โม. ลง อ ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ แล้ว ลง ม ปัจ.
  33. ปุพฺพกมฺม : (นปุ.) กรรมมีแล้วในกาลก่อน, กรรมที่ทำแล้วในกาลก่อน,กรรมในกาลก่อน, บุพพกรรม, บุพกรรม, บุรพกรรม (กรรมที่ทำไว้แต่ปางก่อน กรรมที่ทำไว้แต่ชาติก่อน).
  34. ภณฺฑุกมฺม : (นปุ.) การโกนหัว, การปลงผม, ภัณฑกรรม คือการขออนุญาตปลงผมผู้ที่จะบวชอันภิกษุทำเอง เป็น อปโลกนกรรม.
  35. ภูริ : (ปุ.) คนมีปัญญา, ฯลฯ, นักปราชญ์. วิ. ภูสงฺขาเต อตฺเถ รมตีติ ภูริ. ภูปุพฺโพ, รมฺ รมเณ, กฺวิ, อิ อาคโม.
  36. มชฺฌิมธมฺม : (ปุ.) ธรรมปานกลาง ได้แก่ กุศลธรรมและอัพยากตธรรมที่เป็นกามาสวะ เป็น กามาวจร รูปาวจร และ อรูปาวจร. ไตร. ๓๓.
  37. มิจฺฉตฺตนิยตธมฺม : (ปุ.) ธรรมเป็นมิจฉาสภาวะและธรรมเป็นนิยตะ, ธรรมเป็นมิจฉาสภาวะและให้ผลแน่นอน ได้แก่ อนันตริยกรรมและนิยตมิจฉาทิฏฐิ. ไตร. ๓๓.
  38. วิธูปน : นป. การปรุง, การพัด, การรม, พัด
  39. วิธูเปติ : ก. ปรุง, พัด, อบควัน, รมควัน
  40. สนฺธูเปติ : ก. รมควัน, พ่นควัน
  41. สพฺพญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งสัตบุรุษผู้รู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ความเป็นแห่งพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมหาส่วนเหลือมิได้, สรรเพชุดา (ออกเสียงว่าสันเพ็ดชุดา). วิ. สพฺพ ฺญฺญุตา. สพฺพ ฺญฺญู+ตาปัจ. รัสสะ อู เป็น อุ. รูปฯ ๓๗๑.
  42. สพฺพฺญฺญุตญาณ สพฺพญฺญุตฺตญาณ : (นปุ.) ความรู้แห่งความเป็นแห่งสัตบุรุษผู้รู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ความรู้แห่งความเป็นแห่งพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ญาณแห่งความเป็นพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้. ว. สพฺพฺญฺญุตาย สพฺพฺญฺญุตฺตสฺส วา ญาณํ สพฺพฺญฺญุตญาณํ สพฺพ ฺญฺญุตต-ฺญฺาณํ วา. ศัพท์ต้น รัสสะ อา ที่ ตา เป็น อ. ญาณคือความเป็นแห่งพระสัพพัญญู วิ.สพฺพ ฺญฺญุตา เอว ฺญฺาณํ สพฺพ ฺญฺญุต ฺญฺาณํ. อถวา, สพฺพ ฺญฺญุตฺตํ เยว ฺญฺาณํ สพฺพ ฺญฺ-ญุตฺต ฺญฺาณํ.
  43. สพฺพญฺญู : (ปุ.) พระสัพพัญญู พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง (พระผู้รู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนมิได้). วิ. สพฺพสงฺขตมสงฺตตํ อนวเสสํ ชานาตีติ สพฺพญฺญู. รู ปัจ. สรรพัชญ์ สรรเพชญ์สองคำนี้เขียนตามรูปสันสกฤต. ส. สรฺวชฺฌ.
  44. อนภิรทฺธิ : (อิต.) ความขึ้งเคียด, ความจำนงภัย, ความปองร้าย.วิ.ปรสมฺปตฺตีสุ นาภิรมตีติอนภิรทฺธิ.นอภิปุพฺโพ, รมุรมเณ, ติ.แปลงติเป็นทฺธิลบมุ.
  45. อนุกฺกม : (ปุ.) การก้าวไปตามลำดับ, อนุกรม.ส. อนุกฺรม.
  46. อปกฺกม : (ปุ.) การหนี, การถอยหนี, การล่าถอยวิ.อปวชฺเชตฺวากมนํอปกฺกโม.ส. อปกฺรมอปกฺรมณ.
  47. อวิรต : (วิ.) เที่ยง, ทุกเมื่อ, สะดวก, เนือง ๆ, เป็นนิตย์.นวิรมตีติอวิรตํ.นวิปุพฺโพ, รฺมุรมเณ, โต.
  48. อสฺสม : (ปุ.) ประเทศเป็นที่มารำงับความโกรธ.วิ. อา โกธํสเมนฺติเอตฺถาติอสฺสโม.ประเทศเป็นที่ยังราคาทิกิเลสให้ระงับวิ.อาภุโสสเมนฺติ ราคาทโย เอตฺถาติ อสฺสโม.อาปุพฺโพ, สมุ อุปสเม, อ, อาสฺสรสฺโส, สสฺสทฺวิตฺตํ.อาศรม (ที่อยู่ของฤาษี ที่อยู่ของนักพรต) วิ. มุนีนํอิสีนํวสนฏฺฐานํอสฺสโมนาม. บุคคลผู้ประพฤติพรหมจรรย์พรหมจารีบุคคล.ส.อาศฺรม.
  49. อาตปตฺต : นป. ร่ม, ฉัตร
  50. อาตปปตฺต : (นปุ.) ร่ม ( เครื่องสำหรับกางป้องกันแดด ป้องกันฝน). ส.อาตปปตฺร.
  51. 1-50 | [51-100] | 101-109

(0.0170 sec)