Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ให้ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ให้, 1106 found, display 151-200
  1. เฉทาปน : นป. การสั่งหรือใช้ให้ตัดหรือฉีก
  2. เฉทาเปติ : ก. ให้ตัด, ให้ทอน, ให้ฉีก
  3. : (วิ.) ผู้เกิด, ผู้บังเกิด, ผู้ยัง...ให้เกิด.
  4. ชน : (ปุ.) สัตว์, คน, ชน ( ผู้ยังกุศลและอกุศล ให้เกิด ). วิ. กุสลากุสลํ ชเนตีติ ชโน. ชนฺ ชนเน, อ. ส. ชน.
  5. ชนก : (วิ.) (กรรม) อันยังวิบากขันธ์และกัม- มัชรูปให้เกิด วิ. วิปากขนฺธกกมฺมชฺชรูปา- นิ ชเนตีติ. ชนกํ. ชนฺ ชนเน, ณฺวุ.
  6. ชนกกมฺม : (นปุ.) กรรมอันยังสัตว์ให้เกิด, กรรมอันนำให้สัตว์เกิด, ชนกกรรม (กรรม ที่ยังผู้เคลื่อนจากภพหนึ่งให้เกิดในอีกภพ หนึ่ง กรรมอันเป็นต้นเค้าทั้งข้างดีและ ข้างชั่ว).
  7. ชนฺตาฆร : (นปุ.) เรือนเป็นที่รักษาซึ่งชน ผู้ ผจญซึ่งไพรีคือโรค, เรือนไฟ โรงไฟ (ห้องสำหรับรมไฟเพื่อให้เหงื่อออก). วิ. ชนฺตา เอว ฆรํ ชนฺตาฆรํ.
  8. ชนน : (วิ.) เกิด, ให้เกิด, อันยัง...ให้เกิด.
  9. ชนนี : (อิต.) หญิงผู้ยังลูกให้เกิด, หญิงผู้ให้ ลูกเกิด, แม่, แม่ผู้บังเกิด เกล้า, ชนนี. วิ. ชเนตีติ ชนนี. ส. ชนนี.
  10. ชเนติ : ก. ให้เกิด, ให้กำเนิด, ผลิตผล
  11. ชเนตุ : ป. ผู้ให้เกิด, ผู้ผลิต
  12. ชปฺปนา : (อิต.) ความให้สัตว์เหนี่ยวรั้ง. ชปฺปฺ วจเน, ยุ.
  13. ชปฺปา, ชปฺปนา : อิต. ความโลภ, ความอยากได้, ความหิว; การพูดเพื่อให้ได้มา
  14. ชมฺภนา : (อิต.) การเหยียด (ทำสิ่งที่งอให้ตรง), การเหยียดกาย. ชภิ คตฺตวิมาเน, ยุ, นิคคหิตาคโม.
  15. ชราชชฺชริต : (วิ.) อันความชราให้คร่ำคร่าแล้ว.
  16. ชราชิณฺณมหลฺลก : (วิ.) ผู้ถือเอาซึ่งความเป็น แห่งคนแก่อันความชราให้คร่ำคร่าแล้ว, ผู้ แก่เพราะอันความชราให้คร่ำคร่าแล้ว.
  17. ชราชิณฺณมหลฺลกิตฺถีวณฺณ : (ปุ.) เพศแห่ง หญิงแก่อันความชราให้คร่ำคร่าแล้ว.
  18. ชาคริยานุโยค : (ปุ.) การประกอบความเพียร, การประกอบความเพียรเพื่อชำระใจให้ หมดจด.
  19. ชาณุ ชานุ : (ปุ.) อวัยวะ อันยังการไปให้เกิด (เข่า หัวเข่า). วิ. คมนํ ชาเรตีติ ชาณุ ชานุ วา.
  20. ชาติปภว : ป. ต้นเหตุแห่งชาติ, มูลเหตุที่ให้เกิด
  21. ชานาเปติ : ก. ให้รู้, ให้ทราบ, ให้เข้าใจ
  22. ชาปยติ : ก. ให้เกิด, ให้อุบัติ, ให้ผลิต
  23. ชาปิก : (วิ.) อันยัง...ให้เกิด. ชนฺ ธาตุ ณาเป ปัจ. และ อิก ปัจ.
  24. ชามาตุ : (ปุ.) ลูกเขย (ชายผู้เป็นสามีของลูก สาว) วิ. ปปุตฺเต ชเนตีติ ชามาตา (ผู้ยัง หลาน ท.ให้เกิด). ชนฺ ชนเน, ริตุ. แปลง อ ที ช เป็น อา อ อาคม (เพื่อให้ นฺ เป็น น) แปลง น เป็น มา ลบ ริ.
  25. ชาเลติ : ก. ให้โพลง; ลุกโพลง, ติดไฟ, สว่างไสว, รุ่งเรือง
  26. ชิรณคฺคิ ชีรณคฺคิ : (ปุ.) ไฟอันยังกายให้ ทรุดโทรม, ไฟอันยังอาหารให้ย่อย, ไฟย่อยอาหาร.
  27. ชีรณเตช : (ปุ.) ไฟยังกายให้ทรุดโทรม.
  28. ชีราเปติ, ชีเรติ : ก. ให้คร่ำคร่า, ให้เก่าแก่, ให้เสื่อม; ให้ย่อย
  29. ชีวิตทาน : นป. การให้ชีวิตเป็นทาน, การสละชีวิตเป็นทาน
  30. ชุหติ : ก. เทลงไปในไฟ, บูชาไฟ, อุทิศให้
  31. เชฏฺฐปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้เจริญที่สุด, บุรุษผู้ เป็นพี่ใหญ่, เชฏฐบุรุษ ชายที่ได้รับยกย่อง ว่าเป็นพี่ใหญ่ด้วยได้ทำความดีให้แก่ ประเทศมาก.
  32. โชติสตฺถ : (นปุ.) ตำราดาว, โชติศาสตร์ ชื่อ วิธีเรียนเวทอย่าง ๑ ใน ๖ อย่าง ให้รู้จัก ดาว หาฤกษ์ และผูกดวงชตา.
  33. โชเตติ : ก. ส่องแสง, ให้แสงสว่าง, ทำให้แสงสว่าง, อธิบายความ
  34. โชเตตุ : อ. (ปฐ. จตุ) การให้แสงสว่าง, การอธิบายความ, เพื่อให้แสงสว่าง, เพื่ออธิบายความ
  35. ฌาปนกิจฺจ : (นปุ.) กิจคืออันยังสรีระให้ไหม้, กิจคือการเผา, กิจคือการเผาศพ, งานเผา ศพ.
  36. ฌาปิต : ค. อันเขาเผาแล้ว, อันเขาให้ไหม้แล้ว
  37. ฌาเปติ : ก. เผา, ให้ไหม้
  38. ญตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องยังสงฆ์ให้รู้, คำ ประกาศให้สงฆ์ทราบ ( เพื่อทำกิจของ – สงฆ์ร่วมกัน ), การบอกให้รู้, การประกาศ (บอกให้รู้ให้เข้าใจ), ญัตติ (คำเสนอให้พิ- จารณา เพื่อลงมติ). ญา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ ซ้อน ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ไทยใช้ญัตติในความหมายว่า หัวข้อ, หัว ข้อโต้วาที.
  39. ญตฺติกมฺม : (นปุ.) ญัตติกรรม ใช้ในอรรถ ๒ อย่างคือ การตั้งข้อเสนอให้พิจารณา อย่าง ๑ กรรมอันสงฆ์ทำด้วยตั้งญัตติไม่ต้อง สวดอนุสาวนาอย่าง ๑.
  40. ญาปน : (นปุ.) การยัง...ให้รู้, การบอกให้รู้, การเผดียง การประเดียง ( บอกให้รู้ ).
  41. ญาเปติ : ก. ให้รู้, อธิบาย, ประกาศ
  42. ฐปาเปติ : ก. ให้ตั้งไว้, ให้วางไว้,ให้หยุด
  43. ฐานกรณ : (นปุ.) ที่ตั้งและวัตถุเป็นเครื่องทำ (ให้เกิดเสียงในการพูด).
  44. ฐานานุกฺกม : (ปุ.) อันก้าวไปตามซึ่งตำแหน่ง, ความก้าวไปตามฐานะ, ฐานานุกรม ชื่อ ลำดับตำแหน่งสมณศักดิ์พระสงฆ์ ซึ่งพระ ราชาคณะมีอำนาจตั้งสมณศักดิ์ให้ตามที่ ท่านได้มาเมื่อรับพระราชทานสมณศักดิ์.
  45. ฐาปน : (นปุ.) การแต่งตั้ง, สถาปนา ( การยกย่องโดยแต่งตั้งให้สูงขึ้นเลื่อนให้สูง ขึ้น ). ส. สฺถาปน.
  46. ฑสาเปติ : ก. ให้กัด, ให้ต่อย
  47. ตกฺกวฑฺฒน : นป. การยังความดำริให้เจริญหรือมากขึ้น
  48. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  49. ตณฺหามานทิฏฺฐิอิญฺชิต : (วิ.) (กิเลสชาต กิเลส ชาติ) อันบุคคลให้หวั่นไหวคือตัณหาและ มานะ และทิฏฐิ.
  50. ตตฺตกปาล : (ปุ.) กระเบื้องอันไฟให้ร้อนแล้ว, กระเบื้องร้อน.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1106

(0.0313 sec)