Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เรียกชื่อ, เรียก, ชื่อ , then ชอ, ชื่อ, รยกชอ, เรียก, เรียกชื่อ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เรียกชื่อ, 1233 found, display 1051-1100
  1. อพฺยาปชฺฌ : (นปุ.) อัพยาปัชฌะชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน, ดูอวฺยาปชฺฌ.
  2. อภิชฺฌา : (อิต.) อภิชฌาชื่อของตัณหา, ตัณหา, ความเพ่งเล็ง, ความโลภ, ความอยากได้, ความทะเยอทะยาน, ความกระวนกระวาย, ความปรารถนาอย่างแรงกล้า, ความเพ่งเฉพาะ, ความปรารถนา.วิ.ปรสมฺปตฺตีอภมุขํกตฺวาฌายตีติอภิชฺฌา.ส. อภิขฺยา.
  3. อภิฐาน : (นปุ.) ฐานยิ่ง, ฐานะอย่างหนัก, อภิฐานะชื่อของความผิดสถานหนักมี๖อย่างคืออนันตริยกรรม๕ การปฏิญญาณรับถือศาสนาอื่นในขณะที่ครองเพศบรรพ-ชิตเป็นข้อที่ ๖.
  4. อภิณฺหปจฺจเวกฺขณ : (นปุ.) การพิจารณาเนือง ๆ, ฯลฯ.อภิณหปัจจเวกขณะชื่อธรรม หมวดหนึ่งซึ่งทรงสอนให้พิจารณาทุกวัน ๆเพื่อให้รู้ตามความเป็นจริงมี ๕ ข้อ.
  5. อภิธานปฺปทีปิกา : อิต. การไขศัพท์ ; การรวบรวมศัพท์, ชื่อของคัมภีร์เล่มหนึ่ง
  6. อภิธานปฺปทีปิกา – สูจิ : อิต. ชื่อของคัมภีร์เล่มหนึ่งอธิบายศัพท์ในอภิธานปฺปทีปิกา
  7. อภิลาป : (ปุ.) การร้องเรียก, คำร้องเรียก, ถ้อยคำ.
  8. อภิลาส : (ปุ.) อภิลาสะชื่อของตัณหา, ตัณหา, ความโลภยิ่ง, ความปรารถนา, ความยินดี, ความเพลิดเพลิน.อภิปุพฺโพ, ลสฺกนฺติยํ, โณ.ส.อภิลาษ.อภิลาส.
  9. อมตป : (ปุ.) อมตปะชื่อของเทวดา, เทวดา.วิ.อมตํปิวนฺตีติอมตปา.อมต+ปา+ณปัจ.
  10. อมตปา : (อิต.) อมตปะชื่อของเทวดา, เทวดา.วิ.อมตํปิวนฺตีติอมตปา.อมต+ปา+ณปัจ.
  11. อมฺพณ : (นปุ.) อัมพณะชื่อภาชนะสำหรับตวง(สัด) จุของ ๑๖ ทะนาน, ถังไม้, ถังตวงข้าว.
  12. อมฺพา : (อิต.) แม่เป็นคำเรียกหญิงด้วยความยกย่อง.แม่เรียกหญิงผู้ให้บุตรเกิด.วิ.ปุตฺเตนอมียตีติอมฺพา.อมฺคมเน, โพ.อม ปูชายํวา.อถวา, อพิสทฺเทสาทเน วาอ, นิคฺคหิตาคโม.ส.อมฺพา.
  13. อมฺพุท : (นปุ.) การพนัน, อัมพุทะ, ชื่อมาตรานับ
  14. อมฺพุพาหน : (นปุ.) ถัง, ครุชื่อภาชนะสานรูปกลม ๆ ยาชันสำหรับตักน้ำ.
  15. อมฺโภ : (อัพ. นิบาต) พ่อเฮ้ย, ผู้เจริญ, แน่ะผู้เจริญ.ใช้ได้ทั้งเอก.และพหุ.ใช้เรียกเฉพาะผู้ชาย.เอกวจนปุถุวจนวเสนปุริสานํอามนฺตเน.
  16. อมฺมณ : (นปุ.) อัมมณะชื่อมาตราตวง๑๑ โทณะเป็น ๑ อัมมณะ.อมฺคมเน, อมฺภฺสทฺเทวา, ยุ.
  17. อมฺม, อมฺมา : ๑. อ. แน่ะแม่, ข้าแต่แม่ ; เป็นคำร้องเรียกหญิงที่สนิทกัน เช่น แม่มหาจำเริญ ; ๒. อิต. แม่
  18. อมร : (ปุ.) อมรชื่อของเทวดา, เทวดา.วิ.มโรเยสํนตฺถิเตอมรา.
  19. อมรโคยาน : (นปุ.) อมรโคยานะชื่อของทวีปใหญ่ ๑ ใน ๔ ทวีป.ทวีปทั้ง ๔ คือปุพพวิ-เทหะอมรโคยานะชมพูทีปะ และอุตตรกุรุ
  20. อมรวตีอมราวตี : (อิต.) อมรวดีอมราวดีชื่อเมืองของพระอินทร์เมือง ๑ ใน ๓ เมือง.วิ.อมราเอกทิวสํสนฺตีติอมรวตี.สาเอวอมราวตี.รสฺสสฺสทีฆตา (ทีฆะรัสสะเป็นอา).
  21. อมุตฺต : (นปุ.) อมุตตะชื่อของมีดหรือกริชเป็นต้น.วิ. ฉุริกาอสิปุตฺติคทาทิกํอมุตฺตํ.นมุตฺตํอมุตฺตํ.
  22. อรณิก : (ปุ.) ตะบันไฟชื่อเครื่องมือทำให้เกิดไฟอย่างหนึ่งของโบราณรูปคล้ายตะบันหมากของคนแก่.
  23. อรตี : (อิต.) อรดีชื่อของธิดามาร ๑ ใน ๓ของพญามารซึ่งพญามารส่งมาผจญพระมหา-บุรุษตอนก่อนจะตรัสรู้.วิ.ปเรสักุสลธมฺ-เมอรตึกโรตีติอรตี.
  24. อริฏฺฐ : (ปุ.) ประคำดีควายชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่งใช้ทำยาไทยมะคำดีควายก็เรียก.หตชนฺตุปโมหสํขาตาริผลตายอริฏฺโฐ.ตํโรคาริวนฺตชเนหิอิจฉิตพฺพผลตฺตาวาอริฏฺโฐ.สะเดาก็แปล.
  25. อริยก : (ปุ.) อริยกะชนชาติอริยกะชื่อชนผู้เป็นต้นตระกูลของพระพุทธเจ้าซึ่งอพยพมาจากตอนเหนือข้ามภูเขามาอยู่ตอนเหนือของชม-พูทวีปคือประเทศอินเดีย (ปัจจุบันแยกออกเป็นหลายประเทศ)
  26. อริยปุคฺคล : (ปุ.) บุคคลผู้เจริญ, บุคคลผู้ประเสริฐ, พระอริยบุคคล, ทางพระพุทธศาสนาเรียกบุคคลที่ละกิเลสได้เด็ดขาด (สมุจเฉทป-หาน)ไม่กำเริบอีกเป็นขั้น ๆว่าพระอริย-บุคคล ๆ มี ๔ ชั้นตามที่ละกิเลสได้คือพระโสดาบันพระสกทาคามีพระอนาคามีและพระอรหันต์เป็นชั้นสูงสุดทางพระ-พุทธศาสนา ไม่มีพระอริยบุคคลชั่วขณะหรือชั่วคราวหรือพระอริยบุคคลแต่งตั้งหรือนิพพานชั่วขณะ.
  27. อริยสจฺจ : (นปุ.) ความจริงอันประเสริฐ, ความจริงอย่างประเสริฐ, ความจริงอันยังปุถุชนให้เป็นพระอริยะ, ความจริงอันยังปุถุชนผู้ปฏิบัติตามมรรค ๘ ให้เป็นอริยะ, ความจริงของพระอริยะ, อริยสัจชื่อของหมวดธรรมหมวดหนึ่งซึ่งพระพุทธเจ้าตรัสรู้ มี ๔ข้อคือ ๑.ทุกข์๒. ทุกขสมุทัย๓. ทุกขนิโรธและ ๔. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา.ไตร.๓๕/๑๔๔.
  28. อลกา : (อิต.) อลกาชื่อเมืองกุเวร, เมืองกุเวร.วิ. อลํกโรตีติ อลกา.อลปุพฺโพ, กรฺกรเณ, กฺวิ.เป็นอาลกา บ้าง.ส. อลกา.
  29. อลสาฏก : (ปุ.) อลังสาฏกะชื่อคนที่บริโภคมากจนไม่สามารถจะนุ่งห่มผ้าสาฏกได้.
  30. อวนฺติ : ป. ชื่อแคว้นหนึ่งในอินเดีย
  31. อวนฺติอวนฺตี : (อิต.) อวันตีชื่อชนบท ๑ ใน ๒๐ของอินเดียโบราณเมืองหลวงชื่ออุชเชนี.วิ. น วมนฺตีติอวนฺติ.นปุพฺโพ, วมุอุคฺคิรเณ, ติ, มสฺสนตฺตํ.อวตีติวาอวนฺติอวนฺตีวา.อวฺรกฺขเณ, นฺโต, อิตฺถิยํอี.ส.อวนฺติอวนฺติกาอวนฺตี.
  32. อวมงฺคล : (นปุ.) อวมงคล (ไม่เป็นความเจริญ).เรียกงานทำบุญเกี่ยวกับการตายว่างานอว-มงคล.คือ งานที่ปรารภเหตุที่ทำให้เกิดความเศร้าโศกเสียใจ.
  33. อวฺยยีภาว : ป. ความเป็นของไม่สิ้น ; เป็นชื่อของสมาสซึ่งมีอัพยยศัพท์เป็นบทประกอบ
  34. อวฺหยติ, อวฺเหติ : ก. เรียก, ขนานนาม
  35. อวฺหาณอวฺหาน : (วิ.) เรียก, ร้องเรียก, คร่ำครวญ.ยุปัจ.
  36. อวฺหาต : กิต. เรียกแล้ว, ร้องเรียกแล้ว
  37. อวหายน : นป. การเรียก, การร้องขอ
  38. อวฺหายน : (นปุ.) คำเรียก, ฯลฯ.ยุปัจ.แปลงเอเป็นอาย.
  39. อวิจิอวีจิ : (ปุ. อิต.) อเวจีชื่อนรกขุมใหญ่ขุมที่๘.วิ.อคฺคิชาเลหิจทุกฺเขหิจสตฺเตหิจนฺตถิเอตฺถวีจิอนฺตรนฺติอวีจิ(ไม่ว่างเว้นจากเปลวไฟทุกข์และสัตว์คือมีเปลวไฟทุกข์และสัตว์ลอดกาล).นตฺถิวีจิเอตฺถาติวาอวีจิ.อคฺคิชาลานิวาทุกฺขเวทนานํวาสตฺตานํวานตฺถิวีจิอนฺตรเมตฺถาติวาอวีจิ.
  40. อวิห : (ปุ.) อวิหะชื่อของรูปพรหมชั้นที่ ๑๒ชื่อของภพเป็นที่เกิดของอวิหพรหมชื่อของพรหมผู้ไม่ละสถานที่ของตนโดยเวลาเล็กน้อย.วิอปฺปเกนกาเลนอตฺตโนฐานนวิชหนฺตีติอวิหา.พรหมผู้ไม่เสื่อมจากสม-บัติของตนวิ.อตฺตโนอตฺตโนสมฺปตฺติยานหายนฺตีติอวิหา.
  41. อวิหา : อิต. ชื่อพรหมชั้นสุทธาวาสชั้นแรก
  42. อวีจิ : ๑. อิต. ชื่อนรกขุมหนึ่ง ; ความคร่ำคร่า ; ตลอดกาลไม่ขาดระยะ ; ๒. ค. ไม่มีคลื่น, ไม่มีเปลว
  43. อส : (ปุ.) บ่า, ไหล่, ส่วน, แผนก, คอต่อ, มุม, องสา, องศา, ขันธ์, วิ.อนติอมติวาเอเตนาติ อํโส. อนฺ ปาณเน, อมํ คมเน วา, โส, นสฺสมสฺสวานิคฺคหีตํ(แปลง นฺ หรือ มฺ เป็น นิคคหิต). อํสฺ สงฺฆาเต วา, อ.อังสะ ชื่อของผ้าที่ภิกษุสามเณรใช้คล้องเฉวียงบ่าจากบ่าซ้ายมาใต้แขนขวาก็มีรากศัพท์มาจากคำนี้สฺอํศอํส.
  44. อสงฺขตธาตุ : (นปุ.) อสังขตธาตุชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน.
  45. อสงฺเขยฺย : (นปุ.) อสงไชยชื่อมาตรานับขั้นสูงสุด. วิ.อสฺขฺยาตุอสกฺกุเณยฺยตายอสงฺเขยฺยํ(วัตถุอันบุคคลไม่พึงนับ นับไม่ได้).นสํปุพฺโพ, ขฺยาปกถเน, โณฺย.เอาอาเป็นเอ.อภิฯตั้งขาธาตุเณยฺยปัจ.ส.อสํขย.
  46. อสฺสก : (นปุ.) อัสสกะชื่อแคว้นในอินเดียโบราณ เมืองหลวงชื่อโปตนะ.
  47. อสฺสเมธ : (ปุ.) อัสสเมธะชื่อมหายาคะอย่าง๑ใน๕อย่าง.วิ. อสฺสํเอตฺถเมธนฺตีติอสฺสเมโธ. อสฺสปุพฺโพ, เมธฺหึสายํ, อ.
  48. อสฺสยุช : (ปุ.) อัสสยุชะชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่๑ ใน๒๗ กลุ่มมี๗ ดวงอภิฯ ว่ามี ๓ ดวง, ดาวม้า. อสฺส รูปโยคโต อสฺสยุโช. ส.อศฺวยุชอสฺวินี.
  49. อสฺสาณีกอสฺสานึก : (ปุ.) อัสสาณีกะ, อัสสานี-กะ, ม้าตัวหนึ่งมีคนสำหรับม้าสามคนชื่ออัสสาณีกะ, กองพลม้า.เป็นอสฺสาณิกอสฺสานิกบ้าง.ส.อศฺวานีก.
  50. อสัญฺญสตฺต : (ปุ.) สัตว์ผู้ไม่มีสัญญา, อสัญญีสัตว์ชื่อของพรหมพวกหนึ่งมีแต่รูป ไม่มีสัญญา.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | [1051-1100] | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1233

(0.0757 sec)