Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เรียกชื่อ, เรียก, ชื่อ , then ชอ, ชื่อ, รยกชอ, เรียก, เรียกชื่อ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เรียกชื่อ, 1233 found, display 601-650
  1. ปตฺตปิณฺฑิกงฺค : (นปุ.) องค์แห่งภิกษุผู้มีการถือเอาอาหารในบาตรเป็นวัตร, องค์แห่งภิกษุผู้ถือการฉันอาหารในบาตรเป็นวัตร, องค์แห่งภิกษุผู้ถือการฉันเฉพาะในบาตร เป็นวัตร, ปัตตปิณฑิกังคะ ชื่อธุดงค์อย่างที่ ๖ ในธุดงค์ ๑๓.
  2. ปตฺถ : (ปุ.) ปัตถะ ชื่อมาตราตวง ๔ กุฑุวะ หรือ ๔ ปสตะ เป็น ๑ ปัตถะ, แล่ง, กอบคือ ๒ ฟายมือ, ทะนาน.
  3. ปตาปน : ป. ชื่อนรกในจำพวกนรกใหญ่ทั้งแปดขุม
  4. ปท : (นปุ.) ปทะ ชื่อของพระนิพพาน, พระ นิพพาน. วิ. อริเยหิ ปฏิปชฺชิตพฺพตฺตา คนฺตพฺพตฺตา ปทํ.
  5. ปทฺทม : (นปุ.) ดอกบัว, ดอกปทุม, ปัททมะ ชื่อสังขยาจำนวน ๑๐๐ โกฏิ.
  6. ปทานุกฺกม : (วิ.) การก้าวไปตามซึ่งบท, ลำดับแห่งบท, ปทานุกรม ชื่อตำราแปลศัพท์เรียงตามลำดับแห่งบท ( อักษร ).
  7. ปทุม : (ปุ.) ปทุม ( ผู้เจริญยิ่ง ผู้มีผิวคล้าย ดอกบัว ) ชื่อคน
  8. ปทุมุตฺตร : (ปุ.) ปทุมุตตระ พระนามของอดีต พุทธะ, ชื่อต้นไม้.
  9. ปเทส : (ปุ.) การเหยียดนิ้วหัวแม่มือและ นิ้วกลางออกให้ตรง, คืบ ชื่อมาตราวัด ระยะแบบโบราณ ๑๒ นิ้ว เป็น ๑ คืบ. ปปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, โณ.
  10. ปนฺถสกุณ : ป. ชื่อพิธีบูชายัญอย่างหนึ่งที่เขาทำการเซ่นสรวงแก่เทวดาเจ้าทาง (สันนิษฐานว่าของเซ่นได้แก่มนุษย์ที่เขาฆ่าแล้วนำมาย่างอย่างนก)
  11. ปปญฺจา : (อิต.) ความเนิ่นช้า, ฯลฯ, ปปัญจา ชื่อของตัณหา, ตัณหา.
  12. ปปฺผาส : (นปุ.) ปอด ชื่ออวัยวะทำหน้าที่ เกี่ยวกับการหายใจ. ปปุพฺโพ, ผา วุฑฺฒิยํ, โส, ปฺสํโยโค.
  13. ปปา : (อิต.) บ่อน้ำ, โรงไว้น้ำดื่ม, ประปา ชื่อของน้ำที่กรองและฆ่าเชื้อโรคแล้ว. วิ. ปํปิวนฺตฺยสฺส มิติ ปปา. ปสทฺทุปปทํ. ปา ปาเน, อ. ส. ปฺรปา.
  14. ปปุนฺนาฏ : (ปุ.) ชุมเห็ด ชื่อต้นไม้รักษาหิด วิ. ปกาเรน ททฺทุ ปุนาตีติ ปปุนฺนาโฏ. ปการปุพฺโพ, ปุ ปวเน, อโฏ, นิคฺคหิตา คโม, การโลโป. ลง นา ปัจ. ประจำ หมวดธาตุและ อฏ ปัจ.
  15. ปโปต : (ปุ.) สำเภา เรือสำเภา ชื่อเรือเดินทะเล สมัยโบราณ. โปตเรือเล็ก ปโปตเรือใหญ่ คือเรือสำเภา.
  16. ปพฺพชฺชา : (อิต.) การเว้น, การละเว้น, การบวช, บรรพชา (การละเว้นจากการทำชั่ว ทุกอย่าง ). บรรพชานั้นต้องเว้นจากเมถุน ธรรม การบวชในศาสนาหรือลัทธิใดก็ตาม ถ้าเว้นจากกามกิจแล้วเรียกว่าบรรพชาได้. ความหมายของคำ ปพฺพชา นั้น คือการออกจากความเป็นฆราวาส ไปประพฤติตน เป็นนักบวช ต่อมามีพระบัญญัติให้ผู้ที่มี อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์บวช เรียกผู้ที่ บวชนั้นว่า สามเณร สามเณรี จึงแยกการบวชออกเป็น ๒ คือ บวชเป็นภิกษุ เรียกว่า อุปสมบท บวชเป็น สามเณร สามเณรี ว่า บรรพชา. ปปุพฺโพ, วชฺชฺ วชฺชฺเน, อ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘ รูปฯ ๖๔๔ วิ. ปฐเมว วชิตพฺพาติ ปพฺพชฺชา. ปฐมปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, โณฺย ภาวกมฺเมสุ. แปลง ชฺย เป็น ชฺช แปลง ว เป็น วฺว แล้วแปลงเป็น พฺพ. โมคฯ ลง ย ปัจ. ส. ปฺรวรชฺยา.
  17. ปพฺพตรฏฺฐ : นป. แคว้นซึ่งตั้งอยู่บนภูเขา, ชื่อแคว้นหนึ่งซึ่งตั้งอยู่กลางแคว้นวิเทหะ
  18. ปพฺพาชนียกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำ แก่ภิกษุผู้อันสงฆ์พึงขับไล่, กรรมอันสงฆ์ พึงทำแก่ภิกษุผู้มีอธิกรณ์อันสงฆ์พึงขับไล่, การขับไล่, ปัพพาชนียกรรม ชื่อกิจที่สงฆ์ พึงทำแก่ภิกษุผู้ประทุษร้ายตระกูลหรือ ประพฤติลามกให้ออกไปเสียจากหมู่ (วัด) ทำด้วยวิธีญัตติจตุตถกรรม. ไตร. ๖.
  19. ปพฺภาร : (ปุ.) เงื้อม ชื่อสิ่งที่ยื่นแล้วงุ้มชะง้ำ ออกมา, เงื้อมเขา, ถ้ำ, หุบเขา, หุบเหว, ลาด, ลุ่มลึก.
  20. ปรนิมฺมิตวสวตฺตี : (ปุ.) เทวดาชั้นปรนิม มิตวสวัตตี วิ. ปรนิมฺมิเตสุ โภเคสุ วสํ วตฺเตนฺตีติ ปรนิมฺมิตวสวตฺตี ( เทวา ) . ปรนิมมิตวสวัตดี ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๖.
  21. ปรปุฏฺ : (ปุ.) นกกระเหว่า ชื่อนกผู้อันนกกา ฟักจนคลอดจากไข่เลี้ยงไว้ ( ระยะที่ยังบิน ออกไปไม่ได้ ). วิ. ปเรน วิชาติเยนกาเกน โปสิโตติ ปรปุฏฺโฐ. ปรปุพฺโพ, ปุสฺโปสเน, โต. แปลง ต เป็น ฏฺฐ ลบที่สุดธาตุ.
  22. ปรมตฺถโชติกา : อิต. ชื่อคัมภีร์อรรถกถาแห่งขุททกปาฐะ และสุตตนิบาต
  23. ปรมตฺถทีปนี : อิต. อรรถกถาที่อธิบายปรมัตถธรรม; ชื่ออรรถกถาแห่งเถรคาถา, เถรีคาถา, วิมานวัตถุ, เปตวัตถุ, อุทาน, อิติวุตตกและปัญจปกรณ์แห่งอภิธรรมปิฎก
  24. ปรมตฺถธมฺม : (ปุ.) ธรรมมีเนื้อความอย่างยิ่ง, ธรรมมีเนื้อความอันประเสริฐ, ธรรมมี เนื้อความอันลึกซึ้ง, ธรรมมีอรรถอย่างยิ่ง, ฯลฯ, ปรมัตถธัม คือ จิต ๘๙ ดวง หรือ๑๒๑ ดวง เจตสิก ๕๒ ดวง รูป ๒๘ พระนิพพาน ๑. เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า พระอภิธรรม ได้แก่ หระอภิธัมมปิฎก.
  25. ปรมฺปรโภชน : (นปุ.) โภชนะอันคนอื่นนิมนต์ ภายหลัง, โภชนะที่คนนิมนต์ทีหลัง. ภิกษุ รับนิมนต์ฉันไว้แห่งหนึ่ง แล้วไม่ไปฉัน กลับไปฉันที่เขานิมนต์ทีหลังอันเป็นเวลา เดียวกัน เรียกว่า ฉันเป็นปรัมประ ทรง ห้ามไว้ พุทธประสงค์ เพื่อรักษาศรัทธา ( หน้า ) ของทายกทายิกาผู้นิมนต์ก่อน. ปญฺจนฺนํ โภชนานํ อญฺญตเรน โภชเนน นิมนฺติโต ตํ ฐเปตฺวา อญฺญานํ ปญฺจนฺนํ โภชนา นํ อญฺญตรํ โภชนํ ภุญฺชติ. เอตํ ปรมฺปรโภชนํ นาม. ไตร. ๒/๓๒๐
  26. ปรายณ ปรายน : (นปุ.) ปรายณะ ปรายนะ ชื่อพระนิพพาน, พระนิพพาน. วิ. ปเรหิ อุตฺตเมหิ อริยปุคฺคเลหิ อยิตพฺพนฺติ ปรายณํ ปรายนํ วา. ปรโต วา. อยิตพฺพนฺติ ปรายณํ, ปรปุพฺโพ, อยฺ คติยํ, ยุ. ปเรสํ วา อริยปุคฺคลานํ ปติฏฐานตฺตา ปรายณํ.
  27. ปริขา : (อิต.) คู ชื่อร่องน้ำที่ขุดขึ้นพื่อเป็น เครื่องกีดขวางป้องกัน หรือเก็บน้ำไว้ใช้, สนามเพลาะ ตือคูที่ขุดบังข้าศึก. วิ. ปริ สมนฺตโต นครสฺส พาหิเร ขญฺญตีติ ปริขา. ปริปุพฺโพ, ขณุ อวทารเณ, โร. รูปฯ ๕๗๙.
  28. ปริตฺตสุภ : (ปุ.) เทพชาวปริตตสุภะ, ปริตตสุภะ ชื่อพรหมโลกชั้นที่ ๗ มีความงามน้อย.
  29. ปริตฺตาณกิฏิก : (ปุ.) แผงป้องกันฝนสาด, กันสาด ชื่อเพิงที่ต่อจากชายคาสำหรับ กันฝน. ปริตฺตาณ+กิฎิก.
  30. ปริตฺตาภ : (ปุ.) พรหมปริตตาภะ วิ. ปริตฺตา อาภา เอเตสนฺติ ปริตฺตาภา. เทวดาชั้น ปริตตาภะ, ปริตตาภะ ชื่อพรหมโลกชั้นที่ ๔ ใน ๑๖ ชั้น.
  31. ปล : นป. ชื่อมาตราน้ำหนัก ประมาณ ๔ ออนส์
  32. ปลฺลว : ป. ใบไม้อ่อน, ข้อ, ปล้อง, หน่อ, ชื่อเมือง
  33. ปสฺสิก : ค. ใช้ในคำว่า เอหิปสฺสิก = เป็นของควรเรียกให้มาดูได้
  34. ปหาราท : ป. ชื่ออสูรตนหนึ่ง
  35. ปาจิตฺติย : นป. ข้อห้ามทางพระวินัยชนิดหนึ่งชื่อ ปาจิตติยะ ซึ่งเมื่อต้องแล้วย่อมบริสุทธิ์ด้วยการแสดง
  36. ปาฏิเทสนีย : ค. ชื่ออาบัติชนิดหนึ่งสำหรับภิกษุ มี ๔ สิกขาบท
  37. ปาราชิกาปตฺติ : อิต. อาบัติชื่อปาราชิก
  38. ปาริเลยฺยก : ป. ชื่อของช้าง
  39. ปารุสก : นป. ชื่อสวนพระอินทร์
  40. ปิฏฺฐิวส : ป. กระดูกสันหลัง; ชื่อเรือน
  41. ปุณฺฑรีก : นป. ดอกบัวขาว; เสือลาย, ชื่อช้างประจำทิศอาคเนย์; มะม่วงอย่างเล็กมีรสหวาน
  42. ปุนพฺพสุ : ป. ชื่อดาวฤกษ์
  43. ปุปฺผทนฺต : ป. ชื่อช้างประจำทิศ
  44. ปุพฺพกตฺติก : (ปุ.) ปุพพกัตติกะ ชื่อเดือนที่ ๑๑ ทางจันทรคติ, เดือน ๑๑. วิ. จึอสฺสยุชมาโส ปุพฺพกตฺติโก, ปุพฺโพ จ โสกตฺติโก เจติ ปุพฺพกตฺติโก
  45. ปุพฺพผคฺคุณี : (อิต.) บุพผัคคุณี ชื่อดาวฤกษ์ กลุ่มที่ ๑๑ ใน ๒๗ กลุ่ม มี ๒ ดวง, ดาวงูเมีย.
  46. ปุพฺพวิเทห : (ปุ.) บุพวิเทหะ ชื่อทวีปใหญ่ ๑ ใน ๔ ทวีป วิ. เวเทน ปญฺญาย อีหนฺติ เอตฺถาติ เวเทโห. โส เอว วิเทโห. อิมํ ทีปมุปาทาย สิเนรุโต ปุพฺพาทิสาภาคตฺตา ปุพฺโพ จ โส วิเทโห จาติ ปุพฺพวิเทโห.
  47. ปุพฺพเสล : (ปุ.) ปุพพเสละ ชื่อภูเขาข้างบุรพทิศ.
  48. ปุพฺพาสาฬฺห : (ปุ.) ปุพพาสาฬหะ บุรพาษาฒ ชื่อดาวฤกษ์ กลุ่มที่ ๒๐ ใน ๒๗ กลุ่ม มี ๓ ดาว, ดาวสัปคับช้าง.
  49. ปุพฺเพนิวาสานุสฺสติญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเครื่องระลึกได้ซึ่งขันธปัญจกอันตนและสัตว์อื่นเคยอาศัยอยู่ในกาลก่อน, ฯลฯ. ศัพท์ทั้งสองนี้ เป็นชื่อของญาณที่ ๑ ในญาณ ๓ ซึ่งพระมหาบุรุษทรงบรรลุในยามแรกแห่งราตรีวันตรัสรู้.
  50. ปุริมวสฺส : (ปุ. นปุ.) พรรษต้น, วันเข้าพรรษาต้น. การอธิษฐานเข้าพรรษา ตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ เรียกว่า ปุริมพรรษา บุริมพรรษา. ถ้าหากมีความจำเป็นเข้าไม่ทันมีพระบรมพุทธานุญาตให้อธิษฐานเข้าวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๙ เรียกปัจฉิมพรรษา.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | [601-650] | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1233

(0.0850 sec)