Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เรียกชื่อ, เรียก, ชื่อ , then ชอ, ชื่อ, รยกชอ, เรียก, เรียกชื่อ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เรียกชื่อ, 1233 found, display 801-850
  1. โมคฺคลฺลาน : (ปุ.) พระโมคคัลลานะ ชื่อพระมหาเถระผู้เป็นอัครสาวกฝ่ายซ้ายของพระพุทธเจ้า.
  2. ยชุพเพท ยชุเวท : (ปุ.) ยชุพเพท ยชุรเวท ชื่อคัมภีร์ไตรเพทของพราหมณ์ คัมภีร์ที่ ๒.
  3. ยฏฺฐ : (อิต.) ยัฏฐ ชื่อมาตราวัดระยะ ๗ รตนะ เป็น ๑ ยัฏฐ. ไม้เท้า, ไม้สักเท้า, คัน, ด้าม, ลำ, ต้น, ยตฺ ปยตเน, ติ. แปลง ติ เป็น ฐ. แปลง ตฺ เป็น ฏฺ หรือแปลง ติ เป็น ฏฺฐ ลบ ตฺ.
  4. ยนฺตมุตฺต : (นปุ.) ศรเป็นต้น ชื่อยันตมุตตะ.
  5. ยมทคฺคิ : (ปุ.) ยมทัคคิ ชื่อฤาษีผู้แต่งมนต์ ๑ ใน ๑๑ ท่าน.
  6. ยส : (ปุ.) ชื่อเสียง, ความยิ่ง, ความเด่น, ความยกย่อง, ความยกย่องนับถือ, เกียรติ, ยศ. วิ. ยชติ เอเตนาติ ยโส. ยชฺ เทวปูชายํ, อ, ชสฺสโส. สพฺพตฺถ ยาตีติ วา ยโส. ยา คมเน, โส, รสฺโส.
  7. ยโสธรา : (อิต.) พระนางยโสธรา วิ. ยโส วุจฺจติ ปริวาโร กิตฺติ จ, เต ธาเรตีติ ยโสธรา (ผู้ทรงไว้ซึ่งบริวารและชื่อเสียง). ยส+ธรฺ+อ ปัจ. แปลง อ ที่ ส เป็น โอ.
  8. ยาคุ : (ปุ.) ข้าวต้ม, ข้าวยาคู ชื่อขนมชนิดหนึ่งทำด้วยข้าวอ่อน คือ เกี่ยวเอารวงข้าวที่ยังเป็นน้ำนม คั้นเอาแต่น้ำนมใส่ภาชนะตั้งไฟเคี่ยว ใส่น้ำตาล เคี่ยวพอข้นเหนียวจึงยกลง มีกลิ่นหอม รับประทานอร่อย. ยา ปุณเน, คุ. มิสฺสเน วา, คุ, อุสฺสา.
  9. ยาคู : (ปุ.) ยาคู ชื่อตำแหน่งสมณศักดิ์พื้นบ้านของภาคอีสาน ชาวอีสานมีประเพณีแต่งตั้งภิกษุที่เป็นกำลังของศาสนาด้วยการสรงน้ำ สรงครั้งแรกได้รับสมญาว่า ยาซา สรงครั้งที่สองได้รับสมญาว่า ยาคู. ยชฺ เทวปูชายํ, อู. แปลง ช เป็น ค ทีฆะต้นธาตุ.
  10. ยาวตติยก : (นปุ.) ยาวตติยกะ เป็นคำเรียกอาบัติ สังฆาพิเศษ ตั้งแต่สิกขาบทที่ ๑๐-๑๓ เพราะต้องอาบัติต่อเมื่อสงฆ์ประกาศห้ามครบ ๓ ครั้งแล้ว.
  11. ยุคนฺธร : (ปุ.) ยุคนธร, ยุคันธร, ยุคุนธร ชื่อภูเขาซึ่งเป็นบริวารของเขาพระสุเมรุ.
  12. เยภุยฺยสิกา : (อิต.) ความเห็นข้างมาก, เยภุยยสิกา ชื่อของวิธีระงับอธกรณ์อย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง คือการตัดสินเอาตามคำของคนมากเป็นประมาณ.
  13. โยชนา : (อิต.) การประกอบ, การผูก, การประสม, การแต่ง, การรวบรวม, โยชนา ชื่อหนังสือที่ท่านแต่งรวบ รวมอรรถบอกวิเคราะห์บอกสัมพันธ์ เป็นต้น.
  14. รกฺขส : (ปุ.) ผีเสื้อ, ผีเสื้อยักษ์ (สิงอยู่ในน้ำ), ผีเสื่อน้ำ, ยักษ์ร้าย, ยักษ์เลว, รักขสะ, รากษส ชื่อกำเนิดเทวดาอย่าง ๑ ใน ๘ อย่าง. รกฺขฺ ปาลเน, โส.
  15. รกฺขิตวนสณฺฑ : (ปุ.) ชัฎแห่งป่าอัน...รักษาแล้ว, ไพรสณฑ์อันนาคคือช้างรักษาแล้ว, ชัฏแห่งป่าชื่อรักขิตวัน.
  16. รคา : (อิต.) รคา ชื่อธิดามาร ๑ ใน ๓ วิ. รญฺ ชนติ เอตายาติ รคา, รญฺชฺ ราเค, อ. ลบ ญฺ สังโยค แปลง ช เป็น ค อาอิต.
  17. รงฺก : (ปุ.) รังกะ ชื่อกวางชนิดหนึ่ง.
  18. รฏฺฐปุริส : (ปุ.) รัฐบุรุษ ชื่อบุคคลผู้ได้รับการยกย่องจากรัฐ เพราะเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถและมีคุณธรรมในการบริหารบ้านเมืองเป็นอย่างสูง.
  19. รฏฺฐมนฺตี : (ปุ.) คนมีความคิดของบ้านเมือง, คนมีความรู้ของบ้านเมือง, รัฐมนตรี ชื่อบุคคลผู้รับ ผิดชอบในนโยบายบริหารราชการแผ่นดิน และเป็นที่ปรึกษาการบ้านเมือง ผู้เป็นหัวหน้าเป็นใหญ่ในกระทรวง.
  20. รฏฺฐมฺมนุญฺญ : (นปุ.) รัฐธรรมนูญ ชื่อกฏหมายสูงสุดของประเทศ เป็นกฎหมายอันเป็นที่พึงพอใจของประชาชนทั้งประเทศ ประชาชนทั้งประเทศอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญนี้. รฏฺฐ+ธมฺม+มนุญฺญ ลบอักษรที่เสมอกันสามตัวเสียตัวหนึ่ง.
  21. รฏฺฐสภา : (อิต.) ที่ชุมนุมของบ้านเมือง, ที่ประชุมของรัฐ, ที่ประชุมปรึกษาการบ้านเมือง, รัฐสภา ชื่อองค์การนิติบัญญัติ.
  22. รถการก : ป. ชื่อสระใหญ่
  23. รมฺมก : ป. ชื่อเดือนจิตรมาส ตรงกับเดือนเมษายน
  24. เรวตี : อิต. ชื่อดาวนักษัตร
  25. โรรุว : ป. ชื่อนรกใหญ่ขุมหนึ่ง
  26. โลทฺท : ป. ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง
  27. วงฺก : ๑. ค. คด, งอ, โค้ง; ๒. นป. ชื่อภูเขา; กีบเท้าสัตว์, เบ็ด
  28. วงฺค : ป. ชื่อแคว้นหนึ่งในอินเดีย; ชื่อโรคชนิดหนึ่ง
  29. วชฺชี : ป. ชื่อแคว้น
  30. วลิ : อิต. รอยพับ, รอยย่น; กลุ่มคำที่เรียกว่า ‘วลี’
  31. วาชเปยฺย : นป. ชื่อพิธีตั้งพราหมณ์เป็นหัวหน้าในวรรณะ, เครื่องบวงสรวง
  32. วาเสฏฺฐ : ป. ชื่อฤษี
  33. วิสาข : นป. ชื่อเดือน ๖
  34. เวชยนฺต : ป. ชื่อวิมานหรือรถของพระอินทร์
  35. เวตรณี : อิต. ชื่อแม่น้ำในนรก
  36. เวปจิตฺติ : ป. ชื่ออสูรตนหนึ่ง
  37. เวภาร : ป. ชื่อภูเขา
  38. เวสาข : ป. ชื่อเดือน ๖
  39. เวสายี : ป. ชื่อพญายม
  40. เวสาลี : อิต. ชื่อเมือง
  41. โวหาร : ก. การกล่าว, การเรียก
  42. สงฺขาต : กิต. นับแล้ว, บอกแล้ว, เรียกแล้ว
  43. สญฺชีว : ป. ชื่อนรกขุมหนึ่ง
  44. สนฺธาน : (นปุ.) การต่อ, การเชื่อม, การเกี่ยวข้อง, การพัวพัน, การสืบต่อ, ที่ต่อ, สันธาน ชื่อของคำที่เชื่อมประโยคให้เกี่ยวเนื่องกัน. ยุ ปัจ.
  45. สนฺนกทฺทุ : (ปุ.) มะหาด ชื่อต้นไม้ขนาดใหญ่ ผลคล้ายมะปราง วิ. สนฺนกา ตาปสา, เตสํ ทุโม สนฺนกทฺทุ. มฺโลโป ทฺสํโยโค.
  46. สนฺนิปาต : (ปุ.) การประชุม, การประชุมกัน, ที่ประชุม, สันนิบาต. คำ สันนิบาต ไทยใช้เป็นชื่อของไข้ชนิดหนึ่ง มีอาการสั่นเทิ้มและเพ้อ. สํ นิ ปุพฺโพ, ปตฺ คติยํ, โณ. ส. สนฺนิปาต.
  47. สพฺพนาม : (ปุ.) ชื่อทั้งปวง, สัพพนาม สรรพนามชื่อคำนามประเภทหนึ่งสำหรับใช้แทนชื่อคนและสิ่งของที่ออกชื่อมาแล้ว.
  48. สพฺพภุมฺม : (ปุ.) สัพพภุมมะ ชื่อช้างประจำทิศอุดร.
  49. สภาคาปตฺติ : (อิต.) อาบัติเหมือนกัน, สภาคาบัติ ชื่ออาบัติที่ภิกษุต้องเหมือนกัน เช่น ต้องอาบัติปาจิตตีย์ เพราะฉันอาหารในเวลาวิกาล ท่านห้ามไม่ให้แสดงแก่กันและกัน ต้องแสดงแก่ภิกษุที่ต้องอาบัติไม่เหมือนกัน ถ้าไม่สามารถหาภิกษุเช่นนั้นได้ จะแสดงก็ได้ แต่ท่านปรับอาบัติทุกกฎ ทั้งผู้แสดงและผู้รับแสดง.
  50. สมถ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องระงับ, ธรรมยังนิวรณ์ห้า มี กามฉันท์ เป็นต้นให้สงบ. วิ. กามฉนฺทาทิกํ ปญฺจนิวรณํ สเมตีติ สมโถ. สมุ อุปสเม. โถ แปลง อุ เป็น อ. ความสงบ, ความระงับ, ความสงบระงับ. วิ. สมนํ สมโถ. สมาธิ, สมถะ, ชื่อว่า สมถะ เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ้าน อวิกฺเขปฏเฐน สมโถ. สมถุ ชื่อของภาวนาอย่างที่ ๑ ในภาวนา ๒ เป็นอุบายสงบใจ เป็นวิธีทำใจให้สงบหลบทุกข์ไปได้ชั่วคราวมีผลเพียงให้กิเลสอย่างกลางระงับไปชั่วคราว ที่ท่านเปรียบไว้ว่าเหมือนเอาหินทับหญ้าเท่านั้น เมื่อเอาหินออก หญ้าก็งอกงามตามเดิม แต่ก็ยังผู้ปฏิบัติให้หลงไปว่าได้บรรลุโลกุตรธรรมเป็นพระอริยบุคคลไปก็มี เมื่อหลงไปเช่นนี้ก็เป็นอันตรายแด่พระพุทธศาสนาเหมือกัน. คำ สมถะ ไทยใช้ในความหมายว่า มักน้อย ปฏิบัติตนปอน ๆ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | [801-850] | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1233

(0.0619 sec)