Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เรียกชื่อ, เรียก, ชื่อ , then ชอ, ชื่อ, รยกชอ, เรียก, เรียกชื่อ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เรียกชื่อ, 1233 found, display 951-1000
  1. โสตฺถิย : (ปุ.) โสตถิยะ ชื่อพราหมณ์ผู้ถวายหญ้าแด่พระมหาบุรุษตอนเย็นวันตรัสรู้. ใช้เป็นชื่อของพราหมณ์ทั่วไปด้วย. พม่า และ ฎีกาอภิฯ เป็นโสตฺติย วิ. สุตฺตํ พฺรหฺมสุตฺตํ อธิเตติ โสตฺติโย.
  2. โสตาปตฺติ : (อิต.) การถึงซึ่งธรรมอันยังกิเลสให้แห้ง, ความถึงซึ่งธรรมอันยังกิเลสให้แห้ง, การถึงซึ่งกระแสเป็นที่ไปสู่พระนิพพาน, การถึงซึ่งกระแสแห่งพระนิพพานชื่อว่าโสตะ, ความบรรลุซึ่งกระแสแห่งพระนิพพานชื่อว่า โสตะ.
  3. โสเรยฺย : (ปุ.) โสเรยยะ ชื่อพระเถระ.
  4. โสส : (ปุ.) โรคผอมแห้ง, โรคฝีในท้อง, โรคปอด, วัณโรคในปอด, หืด, ไอ, มองคร่อ ชื่อโรคชนิดหนึ่ง มีเสมหะแห้งอยู่ในลำหลอดปอด. วิ. รสาทิสตฺตธาตุโย โสสยตีติ โสโส. สุสฺ โสสเน, โณ.
  5. โสสานิกงฺค : (นปุ.) องค์แห่งภิกษุผู้มีอันอยู่ในป่าช้าเป็นวัตร, โสสานิกังคะ ชื่อธุรงค์อย่าง ๑ ใน ๑๓ อย่าง ผู้สมาทานธุดงค์นี้ต้องอยู่ในป่าช้า.
  6. หตฺถ : (ปุ.) หัตถะ หัสตะ ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๑๓ ใน ๒๗ กลุ่ม มี ๕ ดวง, ดาวศอกคู้. วิ. หตฺถสณฺฐานตาย หตฺโถ.
  7. หตฺถปาส : (ปุ.) บ่วงแห่งมือ, บ่วงมือ, หัตถบาส ชื่อของระเบียบปฏิบัติสำหรับภิกษุสงฆ์ผู้เข้าร่วมประชุมทำสังฆกรรม จะต้องอยู่ในหัตถบาสของกันและกัน คืออยู่ในระหว่าง ๒ ศอก-คืบ ถ้ายืนก็ห่างกันประมาณ ๑ ศอก ถึง ๑ ศอกคืบ ถ้านั่งก็ห่างกัน ๑ คืบ ต่อ ๆ กันไป และยังใช้เกี่ยวกับคฤหัสถ์ผู้ประเคน (ถวาย) ของแด่ภิกษุสงฆ์ด้วย จะต้องเข้ามาในหัตถบาส คือห่างจากภิกษุผู้รับ ๑ ศอก สำหรับสุภาพสตรีเข้าไปประเคน (ถวาย) อยู่ในระยะ ๑ ศอกนี้ ดูไม่งาน เช่นบางกรณีคือ ถวายของในพิธีมงคลสมรส.
  8. หตฺถลญฺจน หตฺถลญฺฉน : (นปุ.) ลายเซ็น, ลายมือ, ลายมือชื่อ.
  9. หตฺถาปฺปตาปก : (ปุ.) เชิงกราน ชื่อเตาชนิดหนึ่ง.
  10. หริตาล : (นปุ.) สีเหลือง, หรตาล ชื่อแร่ชนิดหนึ่งประกอบด้วยธาตุสารหนูและกำมะถันใช้สำหรับเขียนลายรดน้ำและสมุดดำ. ส. หริตาล.
  11. หว : (ปุ.) การเรียก, การร้องเรียก. หู อวฺหาเน, โณ. หฺว อวฺหาเน วา, อ. ส. หว.
  12. หสวตีนคร : (นปุ.) นครหงสวดี พระนครหงสาวี ชื่อเมืองหลวงของชาติมอณ.
  13. ห โห : (อัพ. นิบาต) โอ แสดงการเชื้อเชิญร้อยเรียก.
  14. หิงฺคุชาติ หิงฺคสิปาฎิกา : (อิต.) มหาหิงคุ์ ชื่อยางของต้นหิงคุ ใช้เป็นยาสมุนไพร. วิ โรคํ หึสนฺตํ คจฺฉตีติ หิงฺคุ.
  15. หิงฺคุ หิงฺคุชตุ : (นปุ.) มหาหิงคุ์ ชื่อยางของต้นหิงคุ ใช้เป็นยาสมุนไพร. วิ โรคํ หึสนฺตํ คจฺฉตีติ หิงฺคุ.
  16. หิม : (นปุ.) ความหนาว, ความเย็น, ฤดูหนาว, น้ำค้าง, หิมะ ชื่อละอองน้ำที่แข็งรัดตัว มีลักษณะเหมือนปุย. วิ. หึสตีติ หิมํ. หึสฺ หึสายํ, อ, สสฺส โม, นิคฺคหิตโลโป. อตฺตโน สีตลภาเวน สตฺเต หิโนตีติ หิมํ. หิ หึลายํ, อิโม. หิโนตีติ หิมํ. หิ คติยํ. อภิฯ ปถวีปพฺพตาทีสุ หิโนติ ปตตีติ หิโม. หิ คติยํ, โม. กัจฯ และ รูปฯ ลง ม ปัจ. และเป็น ปุ.
  17. หิริเวร : (นปุ.) เครือเขาหญ้านาง, เครือเถาหญ้านาง, เครือหญ้านาง, เถาหญ้านางชื่อเครือเถาสมุนไพรอย่างหนึ่ง. วิ. หิรินามิกาย เทวธีตาย สรีรโต สญฺชาตตฺตา หิริเวรํ.
  18. หุ หุกชาติก : (ปุ.) หุงหุกชาติกะ ชื่อพราหมญ์ตนหนึ่ง มักตวาดผู้อื่นว่า หึหึ.
  19. หูติ : (อิต.) การเรียก. หู อว.หาเน, ติ.
  20. เหม : (ปุ.) เหมะ ชื่อตระกูลช้างตระกูล ๑ ใน ๑๐ ตระกูล วิ. เหมวณฺณตาย เหโม.
  21. เหรญฺญก : (ปุ.) บุคคลผู้เกี่ยวกับเงิน, พนักงานคลังเงินทอง, เหรัญญิก ชื่อคนผู้ดำรงตำแหน่งกรรมการของสมาคมหรือหน่วยงาน มีหน้าที่รับเก็บและจ่ายเงิน.
  22. เหลา : (อิต.) ธรรมชาติตัดซึ่งทุกข์, เหลา ชื่อกิริยาท่าทาง. น่าเสน่หาของหญิง. วิ. หึ ทุกฺขํ ลุนาตีติ เหลา. หิปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อ, อิตฺถิยํ อา. หิลฺ หาวกรเณ, อ. เป็น เหฬา บ้าง.
  23. อกฺขรสตฺถ : (นปุ.) คัมภึร์แห่งอักษร, ตำราว่าด้วยอักขระ, ตำราพรรณนาถึงอักษร, อักษรศาสตร์ชื่อตำราว่าด้วยวิชาการทางหนังสือ.
  24. อกฺโขหิณี : (อิต.) อักโขหิณี เป็นชื่อของเสนา(ไพร่พล) อธิบายว่า ไม้ไผ่ ๖๐ มัดๆละ ๖๐ ลำอันเสนาผู้ไปอยู่ทำให้ป่นปี้ เสนาเช่นนี้ชื่อว่า อักโขหิณีอีกอย่างหนึ่งเป็น ชื่อของจำนวนเลขอย่างสูง คือเลข ๑ มีสูญ ๔๒ สูญ. เป็น อกฺโขภิณี อกฺโขภินี ก็มี.ส. อกฺเษาหิณี.
  25. อกมฺมกิริยาอกมฺมกฺริยา : (อิต.) กิริยาไม่มีกรรม คือกิริยาที่ได้ความสมบรูณ์มิต้องมีกรรมคือผู้ถูกทำมารับ, กิริยาที่ไม่ต้องเรียกหากรรม
  26. อกรณียกิจฺจ : (นปุ.) กิจอัน....ไม่พึงทำ, กิจอัน....ไม่ควรทำ, อกรณียกิจ.กิจอันบรรพชิตไม่ควรทำ (ทำไม่ได้) มี๔ อย่าง.ความเป็นจริงกิจที่บรรพชิตไม่ควรทำทั้งสิ้น ชื่ออกรณียกิจ ที่ท่านยกขึ้นกล่าวเพียง ๔ อย่างนั้นกล่าวเฉพาะข้อที่สำคัญซึ่งล่อแหลมต่อการขาดจากความเป็นบรรพชิตและเพื่อให้เหมาะแก่เวลาเมื่ออุปสมบทเสร็จ.อกรณียกิจของคนทั่วไปได้แก่ กายทุจริต วจีทุจริต และมโนทุจริต.
  27. อกิริยวาท : (วิ.) ผู้มีวาทะว่า อ. กรรมอันบุคคลทำแล้วไม่ชื่อว่าเป็นอันทำ, ผู้มีวาทะว่ากรรมอันบุคคลทำแล้วไม่ชื่อว่าเป็นอันทำ, ผู้มีลัทธิเป็นเครื่องกล่าวกรรมไม่ชื่อว่าอันบุคคลทำ, ฯลฯ.
  28. อคฺคราชฑูต : (ปุ.) อัครราชฑูต ชื่อผู้แทนพระเจ้าแผ่นดินผู้เลิศ ซึ่งประจำชั่วคราวหรือ ประจำอยู่ในสำนักแห่งรัฐบาลอื่น มีฐานะสูงกว่าราชฑูต.
  29. อคฺครุ : (นปุ.) กำยาน, ชื่อวัตถุเครื่องหอม ซี่งเกิดจากชันหรือยางที่ออกจากเปลือกของต้นไม้บางชนิด.
  30. อคฺคิชาลา อคฺคิชฺชาลา : (อิต.) เปลวไฟ, ผักปลาบ, สัตตบุษย์ ชื่อบัวชนิดหนี่งคล้ายสัตตบงกช แต่ดอกสีขาว.
  31. องฺกย : (ปุ.) ชื่อกลองพิเศษชนิดหนึ่ง, ตะโพน, กลอง, โทนเล็ก.องฺกฺ คมนลกฺขเณสุ, โณฺย, โยวา.
  32. องฺค : (ปุ.) อังคะ ชื่อชนบท ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ ใช้เป็นพหุ. เสมอ เมืองหลวงชื่อจัมปา, คม (คมดาบ). อคิ คมเน, อ.
  33. องฺคท : (นปุ.) ทองต้นแขน, กำไลต้นแขน, เครื่องประดับแขน. วิ, องฺคํ ทายติ โสเธตีติ องฺคทํ องฺคปุพฺโพ, ทา โสธเน, อ. องฺคฺคมเน วา, โท. ส. องฺคท องคท ชื่อบุตรของพาลีในเรื่องรามายณะ.
  34. องฺคมนฺตี : (ปุ.) องคมนตรี ชื่อท่านผู้ป็นที่ปรึกษาข้อราชการขององค์พระมหากษัตริย์. ส. องฺคมนฺตรินฺ.
  35. องฺคารกปลฺล : (นปุ.) กระเบื้องแห่งถ่านเพลิง, เชิงกราน, อั้งโล่, เตาอั้งโล่, ตะคันชื่อเครื่องปั้นดินเผารูปคล้ายจาน สำหรับวางเทียนอบหรือเผากำยาน.
  36. องฺคุลิมาล : (ปุ.) องคุลิมาล ชื่อคนผู้มีมาลัยทำด้วยนิ้วมือชื่อคนผู้เป็นโจร, พระเถระนามว่า องคุลิมาล.
  37. องฺคุลิองฺคุลี : (อิต.) นิ้ว, นิ้วมือ, อคิคนิยํ, อุลี.องคุลีชื่อมาตราวัดระยะของโบราณยาวเท่ากับข้อนิ้วกลาง.ศัพท์ต้นรัสสะ.องฺคุลี.
  38. องฺคุลิ องฺคุลี : (อิต.) นิ้ว, นิ้วมือ, อคิ คนิยํ, อุลี. องคุลีชื่อมาตราวัดระยะของโบราณ ยาวเท่ากับข้อนิ้วกลาง. ศัพท์ต้นรัสสะ. องฺคุลี.
  39. อจฺฉท : (ปุ.) ตะไคร้, ผักไห่ชื่อผักชนิดหนี่งใช้ทำยา, เฉียงพร้า มีหลายชนิด ใช้ทำยา, ผักบุ้งร้วม ผักบุ้งชนิดหนึ่งต้นเป็นขน ใบเล็ก มีรสขม ใช้ทำยา, แมงลัก, จันทน์.
  40. อจิรวตี : (อิต.) อจิรวดีชื่อแม่น้ำสายหนึ่งในห้าสายของอินเดียวิ. อจิรํสีฆํคมนเมติสฺ มตฺถีติ อจิรวตี.วนฺตุ ปัจ. อี อิต. แม่น้ำอีก ๔ สาย คือ คงคา มหี ยมุนา และ สรภู.
  41. อชฺชุน : ป. ไม้รกฟ้า, ไม้กุ่ม; ชื่อของเจ้าชายองค์หนึ่ง
  42. อชฺฌาโรห : (ปุ.) อัชฌาโรหะชื่อปลาใหญ่, ปลาใหญ่.วิ. อธิโก อาโรโหยสฺส โสอชฺฌาโรโห. อธิ อา ปุพฺโพ, รูห ชนเน, อ.
  43. อชปาลก : (นปุ.) โกฐชื่อเครื่องสมุนไพรอย่างหนื่ง มีหลายชนิด.วิ.อตฺตโน ฉายูปคเตอเชปาเลตีติอชปาลกํ. อชปุพฺโพปาลฺรกฺขเณ, ณฺวุ.
  44. อฏฏ : (นปุ.) อฎฎะ ชื่อมาตรานับต่อจาก อพพะเลข ๑ มีสูญ ๒๘ สูญ.อฎฺ คติยํ. โฎ.
  45. อฑฺฒกุสิ : (นปุ.) อัฑฒกุสิชื่อเส้นคั่นดุจคันนาขวางของกระทงจีวรซึ่งอยู่ระหว่างมณฑล กับ อัฑฒมณฑล.
  46. อฑฺฒจนฺท : (ปุ.) พระจันทร์ซีก, พระจันทร์ครึ่งซีก, อัฒจันทร์ชิ่อสิ่งที่มีรูปครึ่งวงกลมชื่อชั้นที่ตั้งของขายหรือก้าวขึ้นลง.
  47. อฑฺฒมณฺฑล : (นปุ.) กึ่งแห่งวงกลม, กึ่งวงกลม, อัฑฒมณฑล, อัฒมณฑลเรียกกระทงเล็กของจีวรว่า อัฒมณฑลกระทงใหญ่ว่ามณฑล. วิ. มณฺฑลสฺสอฑฺฒํอฑฺฒมณฺฑลํ.
  48. อตฺตกิลมถานุโยค : (ปุ.) การประกอบความเพียรด้วยการยังตนให้ลำบาก, การประกอบความเหน็ดเหนื่อยแก่ตน, การทรมาณตนให้ลำบากเปล่า, การประกอบความเพียรด้วยการยังตนให้ลำบากเปล่า, อัตกิลมถานุโยคชื่อทางสายหนึ่งในสามสายเป็นสายซ้าย.
  49. อตฺตสมฺมาปณิธิ : (นปุ.) การตั้งไว้ซึ่งตนโดย-ชอบ, ความตั้งไว้ซึ่งตนโดยชอบ, การตั้งตนไว้ชอบ. วิ. อตฺตโน สมฺมา ปณิธิ อตฺตสมฺมา ปณิธิ. คนไม่มีศิล ได้รับคำสอนแล้วทำตนให้มีศิล คนไม่มีศรัทธาทำตนให้มีศรัทธาคนมีความตระหนี่ทำตนให้ถึงพร้อมด้วยการบริจาคหรือตั้งตนไว้ในกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการชื่อว่า การตั้งตนไว้ชอบ.
  50. อตฺถกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องอัน.....กล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อความคำอธิบายซึ่งเนื้อความ, ถ้อยคำแก้อรรถ, อรรถกถาชื่อคัมภีร์ที่ท่านแต่งแก้เนื้อความแห่งพระบาลีพุทธพจน์ที่เข้าใจยากให้ง่ายขึ้น
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | [951-1000] | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1233

(0.1086 sec)