Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ก่อน , then กอน, ก่อน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ก่อน, 130 found, display 51-100
  1. ปุพฺพงฺคม : (วิ.) ถึงก่อน, มีปกติถึงก่อน,เป็นสภาพถึงก่อน, เป็นประธาน. วิ. ปุพฺพํ ปุพฺเพ วา คจฺฉตีติ ปุพฺพงฺคโม.
  2. ปุพฺพงจริต : นป. ความประพฤติอันมีมาก่อน, เรื่องราวที่ล่วงมาแล้ว
  3. ปุพฺพจริต : (วิ.) อัน...ประพฤติแล้วในก่อน, อัน...ประ พฤติแล้วในกาลก่อน,ฯลฯ,
  4. ปุพฺพเจตนา : (อิต.) ความคิดจะให้อันเกิดก่อนแต่การให้, ความตั้งใจไว้ก่อนแต่จะให้, ความตั้งใจให้ไว้ก่อนให้, ความคิดอยากจะทำ บุญที่เกิด ขึ้นก่อน ที่จะทำ.
  5. ปุพฺพช : (ปุ.) บุคคลผู้เกิดก่อน, พี่. วิ. ปุพฺเพกาเล ชายตีติ ปุพฺพโช. ปุพฺพสทฺทุปทํ, ชนฺ ชนเน, กวิ.
  6. ปุพฺพชาติ : (อิต.) ชาติมีในก่อน, ชาติมีในกาลก่อน, ชาติก่อน, บุรพชาติ.
  7. ปุพฺพญาติ : ป. ญาติในกาลก่อน
  8. ปุพฺพฏฺฐายี : (วิ.) ตื่นก่อน, ตื่นก่อนโดยปกติ, ฯลฯ.
  9. ปุพฺพณฺณ : (นปุ.) ของที่กินก่อน, ปุพพัณชาต. ปุพพัณชาต ได้แก่ ธัญชาติ ๗ อย่าง คือ. ๑. สาลี ข้าวไม่มีแกลบ ๒. วีหิ ข้าวเปลือก ๓. กุทฺรุสโก หญ้ากับแก้ ๔. โคธุโม ข้าวละมาน ๕. วรโก ลูกเดือย ๖. ยโว ข้าวเหนียว และ ๗. กงฺคุ ข้าวฟ่าง. ไตร ๓๐ ข้อ ๗๖๒. วิ. อปรนฺนสฺส ปุพฺเพ ปวตฺตํ อนฺนํ ปุพฺพนฺนํ. แปลง นฺน เป็น ณฺณฺ อภิฯ เป็น ปุพฺพนฺน.
  10. ปุพฺพณฺณชาติ : (อิต.) บุพพัณชาติ คือพืชที่จะกินก่อน ได้แก่ ข้าวทุกชนิด.
  11. ปุพฺพเทว : (ปุ.) เทวดาก่อน, เทพก่อน, ปุพพเทวะ ชื่อของอสูรชื่อ ๑ ใน ๔ ชื่อ, อสูร (ครองดาวดึงส์อยู่ก่อน).
  12. ปุพฺพนิมิตฺต : (นปุ.) ลางที่เกิดก่อน, ลางที่บอกเหตุขึ้นก่อน, นิมิตที่เกิดก่อน, บุพนิมิต.
  13. ปุพฺพปท : (นปุ.) คำเป็นเครื่องถึงก่อน, คำอันเป็นส่วนเป็นเครื่องถึงก่อนบทนามนาม เช่น ซึ่งบุรุษเป็นต้น, บุพบท, บุรพบท (คำที่ทำหน้าที่เชื่อมคำต่อคำ).
  14. ปุพฺพปโยค : (ปุ.) การประกอบทั่วก่อน, ความประกอบก่อน, ประโยคแรก, บุพประโยค บุรพประโยค (ความพยายามเบื้องต้นของการทำ).
  15. ปุพฺพเปตพลิ : (ปุ.) การบูชาแก่ญาติผู้ละไปแล้วก่อน, การบูชาแก่ญาติผู้ตายไปก่อน, เครื่องบูชาอันบุคคลทำให้ แก่ผู้ละโลกไปแล้วก่อน, เครื่องเซ่นสรวงที่กระทำให้แก่ผู้ตายไปก่อน, บุญกุศลที่อุทิศให้แก่ญาติผู้ตายไปก่อน.
  16. ปุพฺพพุฏฺฐายี : ค. ผู้ลุกขึ้นแต่เช้า, ผู้ลุกขึ้นก่อน, ผู้ตื่นก่อน
  17. ปุพฺพรตฺต : (นปุ.) กาลก่อนแห่งราตรี วิ. รตฺติยา ปุพฺพํ ปุพฺพรตฺตํ. แปลง รตฺติ เป็น รตฺต รูปฯ ๓๓๖.
  18. ปุพฺพสนฺนิวาส : (ปุ.) การอยู่อาศัยร่วมในก่อน, การอยู่อาศัยร่วมในกาลก่อน, การอยู่ร่วมกันในกาลก่อน.
  19. ปุพฺพาจริย : (ปุ.) อาจารย์ในก่อน,อาจารย์มีในกาลก่อน, อาจารย์ในเบื้องต้น คือ บิดา มารดา, บุรพาจารย์
  20. ปุพฺพาสาฬฺห ปุพฺพาสาฬฺหมาส : (ปุ.) เดือนประกอบด้วยอาสาฬหฤกษ์เบื้อง ต้น, เดือนแปดแรก, เดือนแปดก่อน, เดือนแปดต้น.
  21. ปุพฺพุฏฺฐายี : (อิต.) หญิงผู้ตื่นก่อน, ภรรยา.
  22. ปุพฺเพกตปุญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีบุญอันตนกระทำแล้วในกาลก่อน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีบุญอันได้กระทำไว้แล้วในกาลก่อน,ความเป็นผู้มีบุญอันทำแล้วในกาลก่อน, ความเป็นผู้มีบุญอันทำแล้วในชาติก่อน.
  23. ปุพฺเพนิวาส : (ปุ.) การอยู่ในกาลก่อน, การอยู่อาศัยในกาลก่อน, การอยู่ร่วมกันในกาลก่อน.
  24. ปุพฺเพนิวาสญาณ : (นปุ.) ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่งขันธปัญจกอันตนและสัตว์อื่นเคยอาศัยอยู่แล้วในกาลก่อน. ฯลฯ.
  25. ปุพฺเพนิวาสานุสฺสติญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเครื่องระลึกได้ซึ่งขันธปัญจกอันตนและสัตว์อื่นเคยอาศัยอยู่ในกาลก่อน, ฯลฯ. ศัพท์ทั้งสองนี้ เป็นชื่อของญาณที่ ๑ ในญาณ ๓ ซึ่งพระมหาบุรุษทรงบรรลุในยามแรกแห่งราตรีวันตรัสรู้.
  26. ปุพฺเพว : (อัพ. นิบาต) ก่อนนั่นเทียว.
  27. ปุพฺเพสนฺนิวาส : (ปุ.) การอยู่ร่วมกันในชาติก่อน (เคยเป็นคู่กันแต่ปางก่อน)
  28. ปุราณทุติยิกา : (อิต.) หญิงผู้ที่สองมีในก่อน, หญิงที่สองมีในก่อน, ปุราณทุติยิกา คือเมียที่มีอยู่ก่อนออกบวช ภริยาเก่าครั้งเป็นคฤหัสถ์ ภริยาเก่าของผู้ออกบวช.
  29. ปุราณสาโลหิต : ค. ซึ่งสืบสายโลหิตกันมาก่อน
  30. ปุราตน : (อัพ. นิบาต) เป็นในกาลก่อน?
  31. ปุริม : (วิ.) เกิดแล้วในก่อน, เกิดในก่อน, มีในก่อน, มีในเบื้องหน้า, ต้น, เดิม. ปุร+อิม ปัจ. ชาตาทิตัท.
  32. ปุริมชาติ : อิต. ชาติก่อน
  33. ปุริมสิทฺธิ : (อิต.) สิทธิ์อันมีในก่อน, บุริสิทธิ์ คือ อำนาจอันชอบธรรมที่เรียกได้ก่อนสิทธิธรรมดา.
  34. ปุเรคามี : (วิ.) ผู้ไปก่อน, ผู้มีปกติไปก่อน, ผู้มีปกติไปข้างหน้า, ผู้เป็นหัวหน้า, ผู้นำ. ปุเร+คมฺ+ณี ปัจฺ ผู้ไปในเบื้องหน้า ปุร+คมฺ+ณี ปัจฺ ผู้มีปกติไปในเบื้องหน้า วิ. ปุเร คมนสีโล ปุเรคามี. ไม่ลบวิภัติของบทหน้า.
  35. ปุเรจาริก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยอันเที่ยวไปก่อน, ผู้ประ กอบด้วยอันเที่ยวไปในเบื้องหน้า, ผู้เป็นหัวหน้า, ผู้นำ. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ผู้เที่ยวไปข้างหน้า, เป็นเครื่องนำหน้า, เป็นอารมณ์. ณิก ปัจ. สกัด.
  36. ปุเรจารี : (วิ.) ผู้ไปก่อน, ฯลฯ. ดู ปุเรคามี เทียบ.
  37. ปุเรชาต : (วิ.) เกิดแล้วในกาลก่อน, เกิดก่อน. ปุเร+ชาต.
  38. ปุเรตร : (วิ.) ก่อนกว่า.
  39. ปุเรตร : ก. วิ. ก่อนกว่า
  40. ปุเรภตฺต : (นปุ.) ก่อนแห่งภัต, กาลก่อนแต่กาลแห่งภัต (ในเวลาก่อนฉัน), ก่อนอาหาร, เวลาก่อนอาหาร, ปุเรภัต, วิ. ภตฺตสฺส ปุเร ปุเรภตฺตํ. ภตฺตา วา ปุเร ปุเรภตฺตํ.
  41. โปราณ : (ปุ.) อาจารย์ผู้มีในก่อน, อาจารย์ผู้เกิดแล้วในกาลก่อน, โบราณาจารย์. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  42. โปราณคติ : (อิต.) เรื่องมีในก่อน, เรื่องมีในกาลก่อน, เรื่องเก่า, โบราณคดี (เรื่องเกี่ยวกับโบราณ).
  43. โปราณวตฺถุ : (นปุ.) ของมีในกาลก่อน, ของเก่า, ของโบราณ, วัตถุโบราณ.
  44. ภาตุ : (วิ.) ผู้เป็นพี่น้องชายกัน, ฯลฯ. วิ. ภาตีติ ภาตา. ภาสฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, ราตุ. ลบ สฺ ลบ รา. ผู้พูดก่อน (พี่ชาย) วิ. ปุพฺเพภาสตีติ ภาตา.
  45. ภูตปุพฺพ : (วิ.) เป็นแล้วในก่อน, เคยเป็นแล้ว, เคยมีแล้ว, เคยมีมาแล้ว.
  46. มโนปุพฺพงฺคม : (วิ.) มีใจเป็นสภาพถึงก่อน, มีใจเป็นธรรมถึงก่อน, มีใจเป็นหัวหน้า, มีใจเป็นประธาน. วิ. อุปฺปาทปฺปจฺจยตฺเถนมโน ปุพฺพงฺคโม เอเตสนฺติ มโนปุพฺพงฺคมา (ธมฺมา). คำว่า ธรรม ท. ได้แก่ เวทนขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์.
  47. มาฆบูชา : (อิต.) การบูชาในวันเพ็ญเดือน ๓, การบูชาด้วยปรารภเหตุสำคัญของพุทธศาสนาซึ่งเกิดขึ้นในวันเพ็ญเดือนมาฆะ ถ้าปีใดมีอธิกมาสจะเลื่อนไปทำการบูชาเพ็ญกลางเดือน ๔ วันมาฆบูชามีความสำคัญ ดังนี้ – ๑.  เพราะตรงกับวันจาตุรงคสันนิบาต (ดูคำจตุรงฺคสนฺนิปาต ด้วย). พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ภายหลังจากตรัสรู้ได้ ๙ เดือน และ ๒. เพราะตรงกับวันปลงพระชนมายุสังขารในพรรรษาสุดท้าย ก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพาน ๓ เดือน.วันมาฆบูชา เป็นวันพระสงฆ์.
  48. มาสปุพฺพ : (วิ.) ก่อนด้วยเดือน.
  49. ยถาปุร : (นปุ.) เหมือนในกาลก่อน.
  50. ยาวกาลิก : (นปุ.) ของเป็นยาวกาลิก คือของที่ภิกษุรับประเคนได้เฉพาะเวลาเช้าถึงก่อนเที่ยง และฉันได้เช้าชั่วเที่ยงเท่านั้น ได้แก่ ข้าว อาหารทุกอย่าง.
  51. 1-50 | [51-100] | 101-130

(0.0088 sec)