Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เจน , then จน, เจน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เจน, 132 found, display 101-132
  1. ทฬิทฺทิย : (นปุ.) ความจน, ฯลฯ.
  2. ทีน : (วิ.) จน, ยากจน, เข็ญใจ, ยากไร้, ไร้ทรัพย์. ตกยาก. ที ขเย, อีโน. ทีนฺ ทุคฺคตภาเ, อ. ส. ทีน.
  3. นิรุตฺติปฏิสมฺภิทา : (อิต.) ปัญญาอันแตกฉาน ด้วยดีโดยต่างในภาษา, นิรุตติปฏิสัมภิทา คือความรู้และความเข้าใจภาษาและรู้จัก ใช้ถ้อยคำให้คนเข้าใจ ตลอดจนรู้ภาษา ต่างประเทศ.
  4. ปทปรม : (วิ.) มีบทเป็นอย่างยิ่ง, ปทปรมะ ( โง่จนสั่งสอนไม่ได้ ) .
  5. ปรปุฏฺ : (ปุ.) นกกระเหว่า ชื่อนกผู้อันนกกา ฟักจนคลอดจากไข่เลี้ยงไว้ ( ระยะที่ยังบิน ออกไปไม่ได้ ). วิ. ปเรน วิชาติเยนกาเกน โปสิโตติ ปรปุฏฺโฐ. ปรปุพฺโพ, ปุสฺโปสเน, โต. แปลง ต เป็น ฏฺฐ ลบที่สุดธาตุ.
  6. ปาณุเปต : ค. ถือเอาชีวิตเป็นประมาณ, จนตลอดชีวิต
  7. พนฺธน : (นปุ.) การผูก, ฯลฯ, การจำ, การจองจำ, เครื่องผูก, เครื่องจองจำ, จั่น, ห่วง, บ่วง, แร้ว. ยุ ปัจ.
  8. โพธิปริปาก : ป., โพธิปาจน นป. ความแก่รอบแห่งปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้
  9. สิ : (อัพ. นิบาต) ปุจฺฉนตฺถวจนนิปาต. อุ. โก สิ อ. ใครเล่า.
  10. สิกฺขมานา : (อิต.) นางสิกขมานา ชื่อของสามเณรี ผู้มีอายุครบ ๑๘ ปี แล้ว รักษาสิกขาบทตั้งแต่ปาณาติปาตา เวรมณี ถึง วิกาลโภชนา เวรมณี ๖ สิกขาบทไม่ให้ขาดครบ ๒ ปี จึงจะอุปสมบทเป็นภิกษุณีได้ ถ้าขาดสิกขาบทใดสิกขาบท ๑ ต้องนับตั้งต้นไปใหม่จนครบ ๒ ปี จึงจะอุปสมบทได้. วิ. สิกฺขตีติ สิกฺขมานา สิกฺขฺ วิชฺโชปาทานาเน, มาโน.
  11. สีตภีรุก : ค. กลัวจนตัวเย็น
  12. โสจนา : (อิต.) ความแห้ง, ฯลฯ, ความโศก. สุจฺ โสเก, อ, ยุ. ส. โศจน.
  13. อกิจฺฉน : (วิ.) หมดความขวนขวายในการงาน วิ. นตฺถิ กิญจนํ ยสฺส โส อกิญฺจโน.จน, เข็ญใจ.วิ.นตฺถิกิญฺจนํ อปฺปมตฺตมฺปิธนํ ยสฺส โส อกิญฺจโน. ส. อกิญจน.
  14. อตฺถนา : (อิต.) การขอ, การร้องขอ, ความปรถนา, ฯลฯ.อตฺถ ยาจนอิจฺฉาสุ, ยุ. ส.อรฺถนา.
  15. อติหีน : ค. เลวมาก, จนยิ่ง, เดือดร้อน
  16. อทลิทฺท : (วิ.) ไม่จน, รวย. น+ทลิทฺท.
  17. อธิโมกฺข : (ปุ.) ความรู้สึกหนักแน่น, ความรู้สึกตระหนักแน่น, ความหนักแน่น, ความแน่ใจ, ความน้อมลง, ความน้อมใจเชื่อ, ศรัทธา.วิ.อธิมุจฺจนํอธิโมกฺโขอถ วา, อธิมุจฺจนํ อารมฺมณนิจฺฉนํ อธิโมกโข.อธิ-ปุพฺโพ, มุจฺ โมจนนิจฺฉเยสุ, โข, จสฺสโก, อุสฺโส (แปลง จ เป็น ก แปลง อุ เป็น โอ)ส.อธิโมกฺษ.
  18. อนคฺฆ : (วิ.) มีค่าหามิได้วิ.นตฺถิอคฺโฆเอตสฺสาติอนคฺโฆความหมายแท้จริงหมายความว่า มีค่ามากจนกำหนดค่าไม่ได้ฏีกาเวสฯท่านจึงแก้ว่าโสหิอคฺฆสฺสมหนฺตตฺตาอนคฺโฆติวุตฺโต.ส.อนรฺฆ.
  19. อนุโสจนา : อิต. ดู อนุโสจน
  20. อปราปรเจตนา : (อิต.) เจตนาอื่นและเจตนาอื่น, เจตนาอื่น ๆ, อปราปรเจตนาคือ เจตนาที่เกิดสืบ ๆ ต่อจากเจตนาขณะบริจาคดูมุญฺจนเจตนาด้วย.
  21. อปิสฺสุท : (อัพ. นิบาต) จนกระทั่ง.
  22. อมฺโภ : (อัพ. นิบาต) พ่อเฮ้ย, ผู้เจริญ, แน่ะผู้เจริญ.ใช้ได้ทั้งเอก.และพหุ.ใช้เรียกเฉพาะผู้ชาย.เอกวจนปุถุวจนวเสนปุริสานํอามนฺตเน.
  23. อลสก : นป. การกินอาหารมากเกินไปจนไม่ย่อย
  24. อลสาฏก : (ปุ.) อลังสาฏกะชื่อคนที่บริโภคมากจนไม่สามารถจะนุ่งห่มผ้าสาฏกได้.
  25. อาจิณ, - จิณฺณ : กิต. ประพฤติจนเป็นนิสัยแล้ว, ทำจนเป็นนิสัยแล้ว
  26. อาทาน : (นปุ.) การถือ, การถือเอา, การฉวยเอาการคว้าเอา, การยึด, การยึดถือ, ความถือ, ฯลฯ.อาบทหน้าทาธาตุในความถือ ยึดถือยุปัจ.แปลว่าการขอก็มีอาทานํยาจนเมว.ส.อาทาน.
  27. อาโรจน : (นปุ.) การบอก, การบอกกล่าว, ความชอบใจ, ความรุ่งเรือง, ความสุกใจ.อาปุพฺโพ, รุจฺโรจนทิตฺตีสุ, ยุ.
  28. อาโรจนา : (อิต.) การบอก, การบอกกล่าว, ความชอบใจ, ความรุ่งเรือง, ความสุกใจ.อาปุพฺโพ, รุจฺโรจนทิตฺตีสุ, ยุ.
  29. อาเสวี : ค. เสพติด, เสพจนคุ้น
  30. อาหารตฺถก : (ปุ.) อาหารัตถกะ ชื่อคน คนใด บริโภคอาหารจนไม่อาจลุกขึ้นได้โดยธรรมดาของตน จึงกล่าวว่าฉุดมือทีคนนั้น ชื่อ อาหารัตถกะ.
  31. เอฬมูค : (วิ.) ทั้งหนวกทั้งใบ้, เป็นใบ้. เอฬ=พธิร มูค=อวจน.
  32. 1-50 | 51-100 | [101-132]

(0.0167 sec)