Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ดุ , then ดุ, ดู, ตุ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ดุ, 1548 found, display 1401-1450
  1. ปุฏฺฐตฺต : นป. ความเป็นผู้อันเขาเลี้ยงดูแล้ว
  2. เปกฺข : (วิ.) ดู, เห็น, ปรากฏ, เพ่ง, มุ่ง, จดจ่อ. ป+อิกฺขฺ+ณ ปัจ.
  3. เปกฺขก : ค. ผู้เพ่งดู
  4. เปกฺขณ : นป. การเพ่งดู
  5. เปกฺขติ : ก. เพ่งดู
  6. โปสก : (ปุ.) คนผู้เลี้ยง, คนผู้เลี้ยงดู.
  7. โปสน : (นปุ.) ความงอกงาม, ความเจริญ, ความรุ่งเรือง. ปสฺ วุฑฺฒิยํ, ยุ. การเลี้ยง, การเลี้ยงดู, การปรนปรือ. ปุสฺ โปสเน, ยุ.
  8. โปสาวน : (นปุ.) อันพอกเลี้ยง, อันเลี้ยงดู, การพอกเลี้ยง, การเลี้ยงดู.
  9. โปสาวนิก : นป. ค่าเลี้ยงดู, เงินตอบแทนค่าเลี้ยงดู
  10. โปสาวนิกมูล : (นปุ.) ค่าข้าวป้อน, ค่าเลี้ยงดู.
  11. โปสี : ค. ผู้เลี้ยงดู
  12. โปเสติ : ก. เลี้ยงดู
  13. ผรสุ : (ปุ.) พร้ามีด้าม, ผึ่ง, ขวาน, ขวานถาก. วิ. ปเร ชเน อุสาเปตีติ ผรสุ. ปรปุพฺโพ, สสุหึสายํ, อุ, ปสฺส โผ, สโลโป จ. หรือตั้ง สุธาตุในความเบียดเบียน. เป็น ปรสุ โดยไม่แปลง ป เป็น ผ บ้าง. ว่าเป็น อิต. ก็มี.
  14. พฺยูห : (ปุ.) ถนนเดินได้ไม่ตลอด, ถนนตัน, ทางตัน, ตรอกตัน. วิ. พฺยูเหติ ชเน อญฺญตฺร คนฺตุ มปฺปทาน-วเสนาติ พฺยูโห.
  15. พีช : (นปุ.) เหตุ, มูลเหตุ, มูลเค้า, เมล็ด, ฟอง (ฟองไข่), นิมิตบุรุษ, นิมิตสตรี, องคชาต, น้ำสุกกะ, พันธุ์ไม้, ต้นไม้, พืช (สิ่งที่จะเป็นพันธุ์ต่อไป). วิเสสปุพฺโพ, ชนฺ ปาตุภาเว, โร. ลบ เสส แปลง วิ เป็น พิ ทีฆะ ลบ ที่สุดธาตุ และ รปัจจัย อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ.
  16. พุทฺธโกลาหล : นป. ความแตกตื่นอยากดูเมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จมา
  17. ภติ : (อิต.) การเลี้ยง, การเลี้ยงดู. ภรฺ โปสเน, ติ.
  18. ภรติ : ก. เลี้ยงดู, รักษาไว้,แบกหาม
  19. ภลฺลิก : (ปุ.) ภัลลิกะ ชื่อพ่อค้าคู่กับตปุสสะ ผู้ถวายสัตตุก้อน สัตตุผง แด่พระพุทธเจ้า.
  20. ภาตุ : (วิ.) ผู้เป็นพี่น้องชายกัน, ฯลฯ. วิ. ภาตีติ ภาตา. ภาสฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, ราตุ. ลบ สฺ ลบ รา. ผู้พูดก่อน (พี่ชาย) วิ. ปุพฺเพภาสตีติ ภาตา.
  21. ภูตคาม : (ปุ.) ภูตคาม ชื่อพืชที่พรากจากที่แล้วตาย มี ๕ ชนิด ดูบาลี ไตร. ๒ ข้อ ๓๕๕.
  22. ภูรุห ภูรูห : (ปุ.) ต้นไม้. ภูปุ-พฺโพ, รุหฺ ปาตุ ภาเว, อ. ศัพท์หลังทีฆะ.
  23. มคฺค : (ปุ.) ถนน, หน (ทาง), ทาง, หนทาง, ช่อง, อุบาย, เหตุ (ใช้คู่กับคำว่าผล), มรคา, มรรคา, มรรค. วิ. ปถิเกหิ มชฺชเต นิตฺติณํ กรียเตติ มคฺโค. มชฺชฺ สํสุทฺธิยํ, โณ, ชสฺส คตฺตํ. ปถิเกหิ มคฺคียเตติ วา มคฺโค. มคฺคฺ อเนฺวส-เน, อ. ตํ ตํ กิจฺจํ หิตํ วา นิปฺผาเทตุกาเมหิ มคฺคียตี-ติ วา มคฺโค.
  24. มธุปิณฺฑิก : (นปุ.) ข้าวสัตตุก้อน, ข้าวสัตตูก้อน.
  25. มน : (ปุ. นปุ.) สภาพผู้รู้, ธรรมชาตรู้, ใจ. วิ. เอกาย นาฬิกา เอกาย ตุลาย มิณมาโณวิย อารมฺมณํ มินาติ ปริจฺฉินฺทตีติ มโน (นับกำหนดอารมณ์). มนติ ชานาตีติ วา มโน (รู้ ทราบอารมณ์).
  26. มนฺถ : (ปุ.) ขนมผง, สัตตุผง, ข้าวสัตตุผง. มนฺถฺ วิโลลเน, อ. ไม้สำหรับกวนนมให้เป็นเนย ก็แปล.
  27. มหาวิโลกน : (นปุ.) การเลือกเหตุสำคัญ, การตรวจดูเหตุใหญ่, การพิจารณาดูสิ่งใหญ่, มหาวิโลกนะ. มหาวิโลกนะ มี ๕ คือ ๑.กาล จะต้องเป็นช่วงระยะเวลาที่มนุษย์มีอายุขัย ๑๐๐ ปี ๒. ทวีป ต้องเป็นชมพูทวีป ๓. ประเทศต้องเป็นมัชฌิมประเทศ ๔. ตระกูลต้องเป็นกษัตริย์ และ ๕. มารดาต้องเป็นหญิงมีเบญจศีล. พระโพธิสัตว์จึงจะมาอุบัติเพื่อตรัสรู้.
  28. มาฆบูชา : (อิต.) การบูชาในวันเพ็ญเดือน ๓, การบูชาด้วยปรารภเหตุสำคัญของพุทธศาสนาซึ่งเกิดขึ้นในวันเพ็ญเดือนมาฆะ ถ้าปีใดมีอธิกมาสจะเลื่อนไปทำการบูชาเพ็ญกลางเดือน ๔ วันมาฆบูชามีความสำคัญ ดังนี้ – ๑.  เพราะตรงกับวันจาตุรงคสันนิบาต (ดูคำจตุรงฺคสนฺนิปาต ด้วย). พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ภายหลังจากตรัสรู้ได้ ๙ เดือน และ ๒. เพราะตรงกับวันปลงพระชนมายุสังขารในพรรรษาสุดท้าย ก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพาน ๓ เดือน.วันมาฆบูชา เป็นวันพระสงฆ์.
  29. มุขลฺโลกก : ค. ซึ่งมองดูหน้าคน
  30. มุโขโลกน : นป. การมองดูหน้า, การเห็นแก่หน้า
  31. มูค : (ปุ.) คนใบ้ วิ. วตฺตุ สกฺกุเณยฺยตฺตา มิคสทิโสติ มูโค. แปลง อิ ที่ มิค เป็น อู ฎีกาอภิฯ.
  32. เมธิย เมธิฏฺฐ : (วิ.) ผู้มีปัญญากว่า, ผู้มีปัญญาที่สุด. เมธิมนฺตุ+อิย, อิฏฺฐ ปัจ.
  33. ยุคมตฺตทสฺสิตา : (อิต.) ความที่แห่งตนเป็นผู้มีปกติแลดูตลอดที่มีแอกหนึ่งเป็นประมาณ, ความเป็นผู้มีสายตาทอดไปข้างหนึ่งชั่วแอก เป็นกิริยาสำรวมของภิกษุไม่มองล็อกแล็กไปทางโน้นทางนี้.
  34. รกฺขก : ค. ผู้รักษา, ผู้เฝ้าดู
  35. รกฺขติ : ก. รักษา, ดูแล, เฝ้าดู
  36. รช : (ปุ.) ระดูของหญิง, ประจำเดือนของหญิง, ระดู, ประจำเดือน. วิ. รติยา ชายตีติ รโช รติปุพฺโพ, ชนฺ, ปาตุภาเว, โร. ลบ ติ และ นฺ.
  37. วฑฺฒิ : ก. เจริญ, เลี้ยงดู, ปลูกฝัง
  38. วิมานเนติ : ก. ดูหมิ่น
  39. วิโลกน : นป. การตรวจดู, การไต่สวน
  40. วิโลเกติ : ก. ตรวจดู, ไต่สวน
  41. โวโลเกติ : ก. สอบดู, มองดู
  42. สมชฺชาภิจรณ : (นปุ.) การเที่ยวดูเล่น.
  43. สมฺภาร : (ปุ.) การรวบรวม, การสะสม, การอุดหนุน, การเกื้อกูล, การเลี้ยงดู, ความรวบรวม, ฯลฯ, ความพร้อมมูล, ความมากหลาย, องค์เครื่องเต็มพร้อม, องค์, อุปกรณ์, เครื่องอุปกรณ์, เครื่องปรุง, วัตถุ, ของ, ข้าวของ, สิ่งของ, สิ่งของต่างๆ, เครื่องใช้, ของใช้, ทรัพย์, สมบัติ, ฝูง, ฯลฯ, ชุมนุม, ความดีอันสะสมไว้, บุญที่สะสมไว้, สมภาร. สํปุพฺโพ, ภรฺ ธารณโปสเนสุ. โณ. ส. สมฺภาร.
  44. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  45. สหช : (ปุ.) ชนผู้เกิดร่วมกัน พี่น้องชาย(ท้องเดียวกัน). วิ. สห ชาโต สหโช. สหปุพฺโพ, ชนฺ ปาตุภาเว, กฺวิ ส. สหช.
  46. สิพฺพก : (ปุ.) ช่างเย็บ. สิวฺ ตนฺตุสนฺตาเน, ณฺวุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง วฺย เป็น พฺพฺ.
  47. สุทสฺสน : (วิ.) เห็นดี, เห็นงาม, พึงใจ, น่าดู, งาม, งดงาม, สวย.
  48. หตฺถปาส : (ปุ.) บ่วงแห่งมือ, บ่วงมือ, หัตถบาส ชื่อของระเบียบปฏิบัติสำหรับภิกษุสงฆ์ผู้เข้าร่วมประชุมทำสังฆกรรม จะต้องอยู่ในหัตถบาสของกันและกัน คืออยู่ในระหว่าง ๒ ศอก-คืบ ถ้ายืนก็ห่างกันประมาณ ๑ ศอก ถึง ๑ ศอกคืบ ถ้านั่งก็ห่างกัน ๑ คืบ ต่อ ๆ กันไป และยังใช้เกี่ยวกับคฤหัสถ์ผู้ประเคน (ถวาย) ของแด่ภิกษุสงฆ์ด้วย จะต้องเข้ามาในหัตถบาส คือห่างจากภิกษุผู้รับ ๑ ศอก สำหรับสุภาพสตรีเข้าไปประเคน (ถวาย) อยู่ในระยะ ๑ ศอกนี้ ดูไม่งาน เช่นบางกรณีคือ ถวายของในพิธีมงคลสมรส.
  49. หาริ หารี : (วิ.) งาม, งดงาม, น่าดู, น่ารัก, ดีนัก, เป็นที่ชอบใจ. วิ. หรติ จิตฺตนฺติ หาริ หารี วา. หรฺ หรเณ, อิณฺ, ณี วา. ส. หาริ.
  50. หารี : (วิ.) ผู้ควารเพื่ออันนำไปซึ่งภาะระ วิ. ภารํ หริตุ ํ ยุตฺโตสีติ หารี. ณี ปัจ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | [1401-1450] | 1451-1500 | 1501-1548

(0.0904 sec)