Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ดุ , then ดุ, ดู, ตุ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ดุ, 1548 found, display 51-100
  1. ตุเลติ : ก. ช่าง, ตวง, วัด, เปรียบเทียบ, พิจารณา
  2. ตุวนฺตุว : นป. การทะเลาะ, การเถียงกัน, การต่อสู้กัน
  3. ตุวิ : อิต. ฟัก, น้ำเต้า
  4. ตุสน : (นปุ.) ความยินดี, ความแช่มชื่น, ความชื่นชม, ดุษฎี. ตุสฺ ตุฏฺฐยํ, ยุ. ส. ตุษฺฏิ.
  5. ตุสาร : (ปุ. นปุ.) ฤดูหนาว, ฤดูน้ำค้าง. ส. ตุษาร.
  6. ตุสิต : (ปุ.) ดุสิต ชื่อเทวโลกชั้นที่ ๔ ชื่อสวรรค์ ชั้นที่ ๔, ภพชื่อดุสิต, สวรรค์ชั้นดุสิต.
  7. ตุสิตปุร : นป. เทวโลกชั้นดุสิต
  8. ตุสิตภวน : (นปุ.) ภพชื่อดุสิต, ภพดุสิต.
  9. ตุโสทก : นป. น้ำส้ม
  10. ตุหน, ตุหิน : นป. น้ำค้าง
  11. กุลิตฺถี : (อิต.) หญิงควรแก่ตระกูล, หญิงผู้คู่ควรแก่ตระกูล. วิ. กุลานุรุปา อิตฺถี กุลิตฺถี. หญิงแห่งตระกูล วิ. กุลสฺส อิตฺถี กุลิตฺถี. ดูกุลธีตุ ด้วย.
  12. ขนฺตุ : (วิ.) ผู้ทน, ฯลฯ. ตุ ปัจ. แปลง ตุ เป็น นฺตุ ลบ มฺ หรือแปลง มฺ เป็น นฺ.
  13. คนฺตุ. : (วิ.) ผู้ไป วิ. คจฺฉตีติ คนฺตา. คมฺ คติยํ, ตุ. แปลง ตุ เป็น นฺตุ ลบ มฺ หรือไม่แปลง ตุ แปลง มฺ เป็น นฺ ก็ได้.
  14. โจเทตุ : ค., ป. ดู โจทก
  15. โชติมนฺตุ : ค. ดู โชติก
  16. ญาตุ : (ปุ.) คนผู้รู้. ญา+ตุ ปัจ.
  17. ตนฺตุ : (ปุ.) ด้าย, เส้นด้าย. อภิฯ วิ. ตญฺญเตติ ตนฺตุ. รูปฯ ๖๖๕ วิ. ตโนตีติ ตนฺตุ. ตนุ วิตฺถาเร, ตุ.
  18. ตาตุ : (วิ.) ผู้ต้อต้าน, ฯลฯ. ตุ ปัจ.
  19. ทาตุ : (วิ.) ให้, ยกให้, ถวาย. ทา ทาเน, ตุ.
  20. นตฺตุ : (ปุ.) หลาน (ทั้งหลานชายและหลาน สาว) ลูกของลูกชายหรือลูกของลูกสาว (หลานปู่ หลานย่า หลานตา หลานยาย) วิ. นหฺยติ เปเมนาติ นตฺตา. นหฺ พนฺธเน, ริตุ. แปลง หฺ เป็น ตฺ ลบ ริ หรือลง ตุ ปัจ. หรือตั้ง นี นเย, ริตุ, ตุ วา. แปลง อี เป็น อ ถ้าลงริตุ ปัจ. ลบ ริ แปลง ตุ เป็น ตฺตุ. ถ้าแปลง นตฺตุ ว่า หลานชาย หลานสาว ก็ เป็น นตฺตุธีตุ.
  21. นิปฺผาเทตุ : ค. ดู นิปฺผาทิตุ
  22. ปฏิเสธิตุ : ป. ดู ปฏิเสธก
  23. ปาชิตุ : ป. ดู ปาชิก
  24. ปาปิมนฺตุ : ค. ดู ปาปก
  25. ปุจฺฉิตุ : ป. ดู ปุจฉก
  26. พลวนฺตุ : ค. ดู พลก
  27. โพเธตุ : (วิ.) ผู้ยังหมู่สัตว์ให้ตื่น, ผู้ปลุก. พุธฺ ธาตุในความตื่น เณ ปัจ. เหตุ. ตุ ปัจ.
  28. ภตฺตุ : (ปุ.) ผัว, ภัสดา, ภัศดา, ภรรดา. ภรฺโปสเน, ริตุ, แปลง รฺ เป็น ตฺ ลบ ริ หรือ แปลง ตุ เป็น ตฺตุ ลบ รฺ และ ลบ ริ. อภิฯ. รูปฯ ๕๕๙ ลง ตุ. ปัจ. แปลง รฺ เป็น ตฺ. ส. ภฺรตถุ.
  29. เภตฺตุ : (วิ.) ผู้ทำลาย. ภิทิ วิ-ทารเณ, ตุ.
  30. สีลวนฺตุ : (วิ.) ผู้มีศีล วิ. สีลํ อสฺส อตฺถิตี สีลวา. วนฺ ตุ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  31. อาคนฺตุ : (ไตรลิงค์) แขก(คนผู้มาหา).วิ.อา-คจฺฉตีติอาคนฺตุ.อาปุพฺโพ, คมฺคมเน, ตุ.แปลงมฺเป็นนฺ.ส.อาคานฺตุ.
  32. อาจิกฺขิตุ : ป. ดู อาจิกฺขก
  33. กตฺตุ : (ปุ.) นักการ คือพนักงานชั้นผู้น้อย มีหน้าที่นำหนังสือไปส่ง ณ ที่ต่าง ๆ ตามที่ได้รับคำสั่ง, พนักงาน. กตฺตุกมฺยตาฉนฺท
  34. กมิตุ : (วิ.) ผู้ใคร่, ผู้ใคร่จัด. กมุ อิจฺฉายํ, ริตุ.
  35. กามยิตุ กามิ : (วิ.) ผู้ใคร่ วิ. กาเมตีติ กามยิตา กามิ วา. ริตุ, ณิ ปัจ. ลบ รฺ ลง ยฺ อาคม.
  36. กุธาร : (ปุ.) ขวาน, ขวานถาก, ผึ่ง, ดู, กุฐารี ด้วย.
  37. ขตฺตุ : ก. วิ. ครั้ง, (ใช้ต่อหลังศัพท์สังขยา เช่น ติกฺขตฺตุ = สามครั้ง)
  38. ขนฺติมนฺตุ : (วิ.) ผู้มีความอดทน, ฯลฯ. มนฺตุ ปัจ.
  39. คนฺตุกาม : (วิ.) ผู้ใคร่เพื่ออันไป วิ. คนฺตํ กาโม คนฺตุกาโม.
  40. จตุกฺขตฺตุ : (อัพ. นิบาต.) สิ้นสี่ครั้ง, สิ้นสี่คราว, สิ้นสี่หน. กฺขตฺตุ ปัจ. ลงในอรรถแห่งวาร ศัพท์ สัมพันธ์ว่า อัจจันตสังโยคะ วิ. จตฺตาโร วาเร จตุกฺขตฺตู กัจฯ ๖๔๖ รูปฯ ๔๐๓. สี่ครั้ง, สี่คราว, สี่หน. สัมพันธ์ เป็นกิริยาวิเสสนะ.
  41. จาตุรนฺตรสิ : (วิ.) มีรัศมีแผ่ไปในทิศทั้งสี่ (พระอาทิตย์), จาตุรนต์รัศมี.
  42. ชตุ : (นปุ.) ครั่ง ใช้เรียกทั้งตัวครั่งและขี้ครั่ง โดยมากหมายเอาขี้ครั่งที่ใช้เป็นชื่อตัวครั่ง น่าจะ เป็น ปุ., ยาง, ยางไม้. ชนฺ ชนเน, ตุ, นฺโลโป. ส. ชตุ.
  43. ชตุกา : (อิต.) ค้างคาว. ชตุ วิย ชตุกา. อุปมาเน โก. ส. ชตุก, ชตูกา.
  44. ชนฺตุ : (ปุ.) สัตว์, สัตว์เกิด. วิ. ชายตีติ ชนฺตุ. ชนียเต กมฺมกิเลเสหีติ วา ชนฺตุ. ชายติ วา กมฺมกิเลเสหีติ ชนฺตุ. อรรถกถากุลาวก ชาดก ว่า ชนฺตูติ สตฺโต แปลว่า บุคคล คนดังคำในมหาฎีกามหาสุตตโสมชาดก ว่า ชนฺตูติ ปุคฺคโล.
  45. ตาวนฺตุ : (วิ.) มีประมาณเท่านั้น, มีประมาณ เพียงนั้น. ต+อาวนฺตุ ปัจ. รูปฯ ๓๖๙ เป็น ต+วนฺตุ ปัจ. ทีฆะ อ ที่ ต เป็น อา. โมคฯ เป็นตาวนฺต.
  46. ตุรค ตุรงฺค : (ปุ.) สัตว์ผู้ไปเร็ว, ม้า. วิ. ตุรํ สีฆํ คจฺฉตีติ ตุรโค ตุรงฺโค วา. ตุรปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, กฺวิ, ศัพท์หลัง ลงนิคคหิตอาคม. ส. ตุรค ตุรงฺค ตุรงฺคม.
  47. เตมิตุกาม : (วิ.) มีความปรารถนาเพื่ออันเปียก, มีความปรารถนาเพื่อจะเปียก, มีความต้องการเพื่อจะเปียก. เตมิตุ+กาม ลบ นิคคหิต.
  48. ทฺวิติกฺขตฺตุ : (อัพ. นิบาต) สิ้นสองครั้งและ สิ้นสามครั้ง, สิ้นสองคราวและสิ้นสามคราว, สิ้นสองหนและสิ้นสามหน. วิ. ทวิกฺขตฺตุญฺจติกฺขตฺตุญฺจ ทฺวิติกฺขตฺตุ. รูปฯ ๔๐๓. แปลเป็นกริยาวิเสสนะว่าสองครั้งและสามครั้ง, ฯลฯ.
  49. ธิติมนฺตุ : (วิ.) มีปัญญาเป็นเครื่องทรง, มี ความเพียรเป็นที่ตั้ง, มีความเพียร, ฯลฯ. วิ. ธิติ อสฺส อตฺถีติ ธิติมา. มนฺตุ ปัจ.
  50. ธีตุ : (อิต.) ลูกหญิง, ลูกสาว, ธิดา. วิ. มาตา ปิตูหิ ธรียเตติ ธีตา ธรฺ ธารเณ, ริตุ, อิ การสฺส ทีโฆ, ลบ ที่สุด ธาตุ และลบ รฺ ตัว ปัจ.
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1548

(0.0633 sec)