Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ไป , then ไบ, ไป .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ไป, 1556 found, display 751-800
  1. มคฺคุร : (ปุ.) ปลาลำพัน ชื่อปลาชนิดหนึ่ง มีครีบหลังและครีบก้นไปรวมกับครีบหาง. ปลาดุกลำพัน ก็เรียก.
  2. มจฺจุปรายน : ค., มจฺจุปเรต กิต. มีความตายเป็นที่ไปในเบื้องหน้า
  3. มชฺฌิมโพธิกาล : (ปุ.) กาลเป็นที่ตรัสรู้มีในท่ามกลาง, มัชฌิมโพธิกาล คือกาลเป็นไประหว่างปฐมโพธิกาลและปัจฉิมโพธิกาลได้แก่ เรื่องพระพุทธประวัติระหว่างปฐมโพธิกาลและปัจฉิมโพธิกาล.
  4. มชฺฌิมสสาร : (ปุ.) สังสาร (การเวียนตายเวียนเกิด) อันมีในท่ามกลาง ได้แก่ การท่องเที่ยวไปในกามสุคติภูมิ ๗ (มนุษย์และสวรรค์ ๖ ชั้น) พระอนา -คามีตัดมัชฌิมสังสารได้ขาด.
  5. มญฺชุ : (ปุ.) อ่อน, อ่อนหวาน, เป็นที่ชอบใจ, ไพเราะ, กลมเกลี้ยง, งาม, สวย, ดีนัก. มนฺ ญาเณ, ชุ. แปลง นฺ เป็น นิคคหิต แล้วแปลง นิคคหิต เป็น ญฺ หรือ วิ. มโน ชวติ อสฺมินฺติ มญฺชฺ. มน+ชุ ธาตุในความแล่นไป อุ ปัจ. อภิฯ และฎีกา ให้ลบ น?
  6. มนฺทาร : (ปุ.) มันทาระ ชื่อภูเขาข้างทิศปัจฉิม. มนฺท+อรฺ ธาตุในความไป ถึง เป็นไป ณ ปัจ. ฎีกาอภิฯ เป็น มนฺทร วิ. มนิทยติ สูริโย ยสฺมึ มนฺทโร. มนฺทปฺปโภ วา อรติ ยสฺมึ สูริโยติ มนฺทโร.
  7. มโนกมฺม : (นปุ.) กรรมอันเป็นไปแล้วในมโนทวาร วิ. มโนทฺวาเร ปวตฺตํ กมฺมํ มโนกมฺมํ. กรรมอันเป็นไปแล้วในใจ วิ. มนสฺมึ ปวตฺตํ กมฺมํ มโนกมฺมํ. กรรมอันทำแล้วด้วยใจ วิ. มนสา กตํ กมฺมํ มโนกมฺมํ. การทำด้วยใจ, การทำทางใจ. วิ. มนสา กมฺมํ มโนกมฺมํ.
  8. มโนคติ : (อิต.) ภูมิเป็นที่ไปของใจ, ความไปของใจ, ความรู้แห่งใจ, ความสำเร็จแห่งใจ, แบบอย่างแห่งใจ, ความคิด.
  9. มาฆบูชา : (อิต.) การบูชาในวันเพ็ญเดือน ๓, การบูชาด้วยปรารภเหตุสำคัญของพุทธศาสนาซึ่งเกิดขึ้นในวันเพ็ญเดือนมาฆะ ถ้าปีใดมีอธิกมาสจะเลื่อนไปทำการบูชาเพ็ญกลางเดือน ๔ วันมาฆบูชามีความสำคัญ ดังนี้ – ๑.  เพราะตรงกับวันจาตุรงคสันนิบาต (ดูคำจตุรงฺคสนฺนิปาต ด้วย). พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ภายหลังจากตรัสรู้ได้ ๙ เดือน และ ๒. เพราะตรงกับวันปลงพระชนมายุสังขารในพรรรษาสุดท้าย ก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพาน ๓ เดือน.วันมาฆบูชา เป็นวันพระสงฆ์.
  10. มาตุคาม : (ปุ.) อัตภาพมีบ้านดังบ้านแห่งมารดา, อัตภาพถึงซึ่งความเป็นผู้เสมอด้วยมารดา, ชนผู้เป็นไปเหมือนแม่, ชนผู้มีเพศแม่, หญิงชาวบ้าน, หญิง, ผู้หญิง, หญิงมนุษย์. วิ. มาตุยา คาโม วิย คาโม ยสฺสา สา มาตุคาโม. มาตา วิย คจฺฉตีติ วา มาตุคาโม. มาตุยา สมภาวํ มิสฺสีภาวญฺจ คจฺฉตีติ วา มาตุคาโม. คมุ คมเน, โณ. มาตา วิย คสตีติ วา มาตุคาโม. คสฺ อทเน, โณ, สสฺส โม. มาตา วิย คายตีติ วา มาตุคาโม. เค สทฺเท, โม. แปลง เอ เป็น อา.
  11. มานสิก : (วิ.) อัน...กระทำแล้วด้วยใจ วิ. มนสากตํ มานสิกํ. มีในใจ วิ. มนสิ ภวํ มนฺสิกํ. อันเป็นไปในใจ วิ. มนสิ ปวตฺตนํ มานสิกํ. ณิกปัจ.
  12. มิจฺฉาสงฺกปฺป : (ปุ.) ความดำริพร้อมผิด, ความดำริผิด, ความดำริในทางผิด, ความดำริในทางที่ผิด, ความคิดผิด, ความคิดไปในทางที่ผิด.
  13. มิจฺฉาสงฺกปฺปโคจร : (วิ.) มีความดำริผิดเป็นที่จรไปแห่งอินทรีย์, มีความดำริผิดเป็นที่เที่ยวไปราวกะว่าที่เป็นที่เที่ยวไปแห่งโค, มีความดำริผิดเป็นอารมณ์.
  14. มิจฺฉาสติ : (อิต.) ความระลึกผิด, ความระลึกไปในทางที่ผิด.
  15. มิจฺฉาสมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่นแห่งจิตผิด, ความตั้งใจมั่นไปในทางที่ผิด, สมาธิผิด.
  16. เมธค : (ปุ.) ภาวะอันย่ำยี นิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ธรรมชาติอันย่ำยีนิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ความทุ่มเถียง, ความทะเลาะ, ความวิวาท, ความผิดพ้อง, ความร้าวฉาน, ความร้าวราน, ความมั่นหมาย, ความหมายมั่น, ความอาฆาต, ความอาฆาตมาดร้าย, กลหธรรมอันไปจากเมธา. เมธ+คมฺ ธาตุ กวฺ ปัจ.
  17. เมธคา : (อิต.) ภาวะอันย่ำยี นิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ธรรมชาติอันย่ำยีนิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ความทุ่มเถียง, ความทะเลาะ, ความวิวาท, ความผิดพ้อง, ความร้าวฉาน, ความร้าวราน, ความมั่นหมาย, ความหมายมั่น, ความอาฆาต, ความอาฆาตมาดร้าย, กลหธรรมอันไปจากเมธา. เมธ+คมฺ ธาตุ กวฺ ปัจ.
  18. เมธา : (อิต.) ความรู้, ความฉลาด, ความฉลาดรอบคอบ, ปัญญา, ปัญญาเครื่องกำจัดกิเลส, ปรีชา. วิ. วิเลเสเมธตีติเมธา (กำจัด กิเลส). เมธฺ หึสายํ, อ. เมธาติ สิริยาติ วา เมธา (ไปกันด้วยความดี). เมธฺ สงฺคเม. สุขุมมฺปิ อตฺถํ ธมฺมญฺจ ขิปฺป เมว เมตีติ เมธา (ถือเอาผลและเหตุอันสุขุมพลัน). เม อาทาเน, โธ.
  19. ยญฺญอุปนีต : ค. ผู้ที่ถูกนำไปเพื่อบูชายัญ
  20. ยตฺถกามนิปาตี : (วิ.) มีปกติใคร่ในอารมณ์ใดตกไปในอารมณ์นั้น.
  21. ยถาภต : ก.วิ. ตามที่ถูกนำไปแล้ว
  22. ยนฺติต : กิต. ปล่อยไปแล้ว, ยิงไปแล้ว
  23. ยนฺเตติ : ก. ปล่อยไป, ยิงไป
  24. ยปนา : (อิต.) ความเป็นอยู่, ความเป็นไป, ความดำเนินไป, อายุ. ยปฺ วตฺตเน, ยุ.
  25. ยาต : กิต. ไป, ดำเนินไป, ก้าวไปแล้ว
  26. ยาตรา : อิต. ยาตรา, การท่องเที่ยวไป, การเดินทาง; การยังชีวิตให้เป็นไป, การดำรงชีวิต
  27. ยาตฺรา : (อิต.) การเลี้ยงชีวิต, การยังชีวิตให้เป็นไป, การไป, การเดิน, การเดินไป, การเดินทัพออกไปรบ, การยกทัพไปรบ. ยา ปาปุณเน, ตฺรณฺปจฺจโย. อภิฯ รูปฯ ๖๕๐.
  28. ยาติ : ก. ไป, ดำเนินไป, ก้าวไป
  29. ยาน : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องไป, วัตถุเป็นเครื่องถึง, วัตถุเป็นเครื่องนำไป, วัตถุสำหรับนำไป, เครื่องนำไป, การไป, การถึง, ยาน, ยวดยาน เช่น เรือ รถ เป็นต้น. วิ. ยาติ อเนนาติ ยานํ. ยา คติปาปุณเนสุ, ยุ.
  30. ยานภูมิ : อิต. ถนน, ทางเป็นที่ไปแห่งยาน
  31. ยานิก, - นิย : ค. ซึ่งนำไป, ซึ่งพาไป
  32. ยาปน : (วิ.) อันยัง...ให้เป็นไป.
  33. ยาปนมตฺต : (วิ.) (อาหาร) สักว่าเป็นเครื่องอัตภาพให้เป็นไป, พอยังชีวิตให้เป็นไป, พอเลี้ยงชีวิต, พอเยียวยาชีวิต.
  34. ยาปนา : (อิต.) การยังอัตภาพให้เป็นไป, การยังชีวิตให้เป็นไป, ฯลฯ.
  35. ยาปนีย : (วิ.) พึงยัง...ให้เป็นไป, ฯลฯ.
  36. ยาเปติ : ก. เลี้ยงชีพ, ดำรงชีพ, ยังชีวิตให้เป็นไป ; ให้ไป ; นำไป
  37. ยาวชีวิก : (นปุ.) ของเป็นยาวชีวิก คือ ของจำพวกยา ภิกษุรับประเคนได้ทุกเวลา และฉันได้ตลอดไปตามอายุของยา.
  38. ยุคมตฺตทสฺสิตา : (อิต.) ความที่แห่งตนเป็นผู้มีปกติแลดูตลอดที่มีแอกหนึ่งเป็นประมาณ, ความเป็นผู้มีสายตาทอดไปข้างหนึ่งชั่วแอก เป็นกิริยาสำรวมของภิกษุไม่มองล็อกแล็กไปทางโน้นทางนี้.
  39. เยภุยฺยนย : (ปุ.) ภาวะเป็นเครื่องนำไปมาก, นัยมาก, เยภุยยนัย เยภุยนัย (วิธีที่คนส่วนมากใช้).
  40. รงฺค : (ปุ.) การไป, การถึง, การเป็นไป, ความเป็นไป, รคิ คมเน, อ.
  41. รณรงฺค : (ปุ.) การไปสู่ที่ เป็นที่รบ, การถึงซึ่งที่เป็นที่รบ, รณ+องฺค (การไป) รฺ อาคม. การรบ, สนามรบ. รณ ลง องฺค สกัด. คำ ณรงค์ที่ไทยใช้ตัดมาจาก รณฺรงฺค.
  42. ราคกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งความกำหนัด
  43. รูปาวจร : ค. ซึ่งเป็นไปในรูปภพ, มีอยู่ในรูปภพ
  44. เรจน : นป. การส่งออกไป
  45. วชติ : ก.ไป, ดำเนินไป
  46. วฏฺฏน : นป. การหมุนไปรอบ ๆ
  47. วฏฺเฏติ : ก. หมุนไป, ให้เคลื่อน
  48. วตฺตก : ป. ผู้ออกกำลัง, ผู้เป็นไป
  49. วตฺตติ : ก. เป็นไป
  50. วตฺตน : นป. ความเป็นไป
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | [751-800] | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1556

(0.0903 sec)