Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เคราะห์ร้าย, เคราะห์, ร้าย , then คราห, คราหราย, เคราะห์, เคราะห์ร้าย, ราย, ร้าย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เคราะห์ร้าย, 159 found, display 101-150
  1. อนุปวาท : (ปุ.) การไม่เข้าไปว่ากล่าว, การไม่เพ่งโทษ, การไม่กล่าวร้าย.
  2. อนูปวาท : (ปุ.) การไม่เข้าไปกล่าว, การไม่กล่าวโทษ, การไม่กล่าวร้าย, การไม่ว่าร้ายอนูปวาทะ (การไม่เบียดเบียนด้วยวาจาคือการไม่พูดดูถูกเขาดูหมิ่นเขาข้อนขอด-เขา).อนูปฺฆาตะ และ อนูปวาทะเป็นคุณสมบัติของผู้เผยแพร่ (เผยแผ่) พระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสไว้ในโอวาท-ปาติโมกข์.
  3. อปมงฺคล : (วิ.) มีมงคลไปปราศแล้ว, ปราศจากมงคล, ไม่มีมงคล, ไม่เป็นมงคล, อัป-มงคล (เป็นลางร้าย ไม่เจริญ ไม่เจริญตา).ส.อปมงฺคล
  4. อพฺภาจิกฺขติ : ก. กล่าวตู่, กล่าวใส่ร้าย
  5. อพฺยาปาท : (นปุ.) ความไม่ปองร้าย, ความไม่พยาบาท.
  6. อพฺยาปาทวิตกฺก : (ปุ.) ความคิดในทางไม่ปองร้าย.
  7. อริยูปวาท : ป. การว่าร้ายพระอริยเจ้า
  8. อเร : (อัพ. นิบาต) เว้ย, โว้ย, แน่ะคนอะไร, แน่ะคนร้าย, แน่ะหญิงร้าย, พ่อเฮ้ย.
  9. อวฺยาปนฺน : ค. ปราศจากความพยาบาท, ไม่มีความมุ่งร้าย
  10. อวฺยาปาท : ป. ความไม่พยาบาท, ความไม่ปองร้ายผู้อื่น
  11. อเวรี : ค. ไม่มีเวร, ไม่มีความจองร้าย
  12. อาฆาฏอาฆาต : (วิ.) โกรธขึ้ง, ขึ้งเคียด, จำนงภัย, ปองร้าย, จองเวร, เบียดเบียน, พยาบาท
  13. อาถพฺพน : (ปุ.) หมอผู้กำจัดโรคร้ายของช้าง.วิ.อาภุโสหตฺถิโนโรคํถุพฺพตีติอาถพฺพโนอาปุพฺโพ, ถุพฺพฺหึสายํ, ยุ, อุสสตฺตํ (แปลงอุเป็นอ). อปิจ, อาภุโส หตฺถิสฺมึเภสชฺชํถเปตีติอาถพฺพโน.อาปุพฺโพ, ถปฺถปเน, ยุ, ปสฺสโว (แปลงป เป็น ว), วสฺสทวิตตํ(แปลงว เป็น วฺวแล้ว แปลงเป็นพฺพ).เวสฯ ๒๔๒.
  14. อาปา, อาวา : อิต. ความทุกข์, อันตราย, เคราะห์กรรม
  15. อาสิวิส อาสีวิส : (วิ.) มีพิษร้าย, มีพิษที่เขี้ยว. ส. อาศีวิษ อาศิรวิษ.
  16. อุชฺฌานสญฺญี : ค. ผู้มีเจตนาร้าย, มีจิตแสวงหาเรื่องที่จะกล่าวโทษ
  17. อุชฺฌาปน : นป. การเพ่งโทษ, การใส่ร้าย
  18. อุชฺฌายติ : ก. เพ่งเล็ง, ใส่ร้าย, บ่นว่า
  19. อุปทฺทว : (ปุ.) อันตรายเครื่องเข้าไปประทุษ ร้าย, อันตรายเครื่องเข้าไปเบียดเบียน, ความคับแค้น, ความลำบากยากแค้น. ความอัปรีย์, ความจัญไร, จัญไร, อันตราย, อุปัททวะ, อุบาทว์. วิ. อุปคนฺตวา ทุโนตีติ อุปทฺทโว. อุปปุพฺโพ, ทุ ปริตาเป หึสายํ วา, อ. อุปคนฺตฺวา ทวตีติ วา อุปทฺทโว. อุปทวนํ วา อุปทฺทโว. ส. อุปทฺรว.
  20. อุปนทฺธ : กิต. ตำหนิ, ว่าร้ายแล้ว; บ่นแล้ว, ถูกผูกมั่นแล้ว, ถูกผูกโกรธแล้ว
  21. อุปนนฺธติ : ก. ติเตียน, ว่าร้าย, บ่น, ผูกมั่น, ผูกแน่น, ผูกโกรธ
  22. อุปนยฺหนา : อิต. การเข้าไปผูกความมุ่งร้าย, การผูกพยาบาท, การเข้าไปผูกมั่น
  23. อุปนาหี : ค. ผู้จองร้าย, ผู้ผูกพยาบาท
  24. อุปวชฺช : ค. ควรว่าร้าย, ควรตำหนิ
  25. อุปวชฺชตา : อิต. ความเป็นผู้ควรว่าร้าย, ความเป็นผู้ควรตำหนิ
  26. อุปวทติ : ก. เข้าไปว่าร้าย, ใส่โทษ, ติเตียน
  27. อุปวาท : (ปุ.) การเข้าไปว่าร้าย, การกล่าว โทษ. วิ. โทสกฺขาเณน วทนํ อุปวาโท. อุปปุพฺโพ, วทฺ วจเน, โณ.
  28. อุปวาทก : ค. ผู้ว่าร้าย, ติเตียน
  29. อุปวุตฺต : กิต. ถูกว่าร้ายแล้ว, ถูกตำหนิแล้ว
  30. โอสารณา : (อิต.) โอสารณา ชื่อของวินัยกรรม อันสงฆ์ทำคือ : การเรียก (รับ) สามเณรผู้กล่าวติเตียนพระรัตนตรัย ถูกสงฆ์นาสนะผู้กลับ ประพฤติเรียบร้อยดีแล้ว ให้เข้าหมู่ได้ โอสารณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีอปโลกนกรรม. การเรียกอุปสัมปทาเปกขะ ซึ่งได้รับการไล่เรียง (ซักซ้อม) อันตรายิกธรรม ที่นอกเขตประชุมสงฆ์ (ห่างจากสงฆ์) ๑๒ ศอกแล้ว ให้เข้าหมู่สงฆ์ได้โอสาร- ณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัตติกรรม. การหงายบาตรแก่คฤหัสถ์ผู้ประพฤติให้ร้ายแก่พระศาสดา (ศาสนา)ถูกสงฆ์คว่ำบาตรคือไม่คบ ไม่รับกิจนิมนต์ ไม่รับบิณฑบาต ภายหลังรู้สึกตนกลับ ประพฤติเรียบร้อยดีแล้ว โอสารณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัตติทุติยกรรม. ๔. การยกโทษแก่ภิกษุผู้ประพฤติมิชอบ ซึ่งถูกสงฆ์ลงโทษด้วยตัชชนียกรรมผู้ กลับประพฤติดีแล้ว โอสารณานี้สงฆ์ ทำด้วยวิธีญัตติจตุตถกรรม.
  31. จิราย : อ. เพื่อกาลนาน, ชั่วกาลนาน
  32. จิรายติ : ก. ประพฤติชั่วช้า, ช้า, ล่าช้า
  33. ปารายณิก : ค. ผู้เรียนเรื่องโบราณ, นักศึกษาโบราณคดี
  34. ปารายน : นป. การมีคติเป็นที่ไปในเบื้องหน้า, จุดมุ่งหมายอันสูงสุด
  35. มจฺฉรายติ : ก. เห็นแก่ตัว, ตระหนี่
  36. มจฺฉรายนา : (อิต.) กิริยาที่ตระหนี่.
  37. สรายน : (นปุ.) วัตถุเป็นที่ไปของลูกศร, ธนูศร.
  38. ฆาเตตาย : (วิ.) ควรฆ่า วิ. ฆาเตตุ อรหตีติ ฆาเตตาโย. อาย หรือ ราย ปัจ. ลบ ตุ.
  39. ปพฺพาเชตาย : (วิ.) ผู้ควรเพื่ออันสงฆ์ขับไล่, ผู้ ควรขับไล่. วิ. ปพฺพาเชตุ อรหตีติ ปพฺ พาเชตาโย. ราย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๗๗.
  40. กิตก : (ปุ.) ศัพท์อันเรี่ยรายด้วยกิตปัจจัย, กิตก์ ชื่อของศัพท์ที่ท่านประกอบด้วย ปัจจัยหมู่หนึ่ง ซึ่งเป็นเครื่องหมายของนาม ศัพท์และกิริยาศัพท์ที่ต่าง ๆ กัน. จากบาลี ไวยากรณ์กิตก์. วิ. กิตปจฺจเยน กิรตีติ กิตโก. กิบทหน้า กิรฺธาตุ ในความเรี่ยราย รปัจ. ลบที่สุดธาตุ แปลง อิ ที่ กิ ตัว ธาตุเป็น อ และลบตัวเอง (รปัจ.).
  41. ติตฺถิยปริวาส : (ปุ.) ติตฺถิยปริวาส ชื่อของ กรรมวิธีตรวจสอบเดียรถีย์ ผู้ที่จะมาบวช ในพุทธศาสนาว่าจะมีความเลื่อมใสแท้จริง หรือไม่ มีกำหนด ๔ เดือน ดูรายละเอียด ใน โตร. ๔ ข้อ ๑๐๐ วิธีนี้ควรจะเอามา ประยุกต์ใช้กับคนที่จะมาบวชในปัจจุบัน นี้บ้าง.
  42. ทิวสวลญฺช : (ปุ.) การใช้สอยในวันๆ, ค่าใช้ สอยในวันๆ, ค่าใช้จ่ายในวันๆ, รายจ่ายในวันๆ, รายจ่ายประจำวัน. วิ. ทิวเส ทิวเส วลญฺชิตพฺโพ ทิวสวลญฺโช. ทิวสทิสปุพฺโพ, วลชิ วลญฺชเน, อ. ลบ ทิวส ๑ ศัพท์
  43. นารายณ : (ปุ.) นารายณะ นามพระวิษณุ, พระนารายณ์ พระเจ้าองค์หนึ่งใน ๓ องค์ ของศาสนาฮินดู ได้ในอักษร อะ อีกสอง องค์คือ พระศิวะ อักษร อุ และ พระพรหม อักษร มะ รวมเป็น โอม. ส. นารายณ.
  44. นิพฺพิส : ๑. นป. ค่าจ้าง, รางวัล, รายได้; ๒. ค. ซึ่งไม่มีพิษ
  45. ปกิณฺณก : ค. เรียงราย, กระจัดกระจาย, คละกัน
  46. ปทภญฺชิกา : (อิต.) การลงบัญชี, หนังสือรายวัน.
  47. ปริพฺพย : ป. เสบียง, โสหุ้ย, รายจ่าย, ค่าจ้าง
  48. โปตฺถ โปตฺถก : (ปุ. นปุ.) สมุด, หนังสือ, คัมภีร์, ตำรับ (ตำราที่กำหนดไว้เฉพาะแต่ละเรื่องละราย), ตำรา.
  49. ผุณ ผุณน : (นปุ.) การกระจาย, การเรี่ยราย, การกำจัด, การขจัด. ผุณฺ วิกรณวิธุนเนสุ, อ, ยุ.
  50. อกองฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, สาย, แถว, แนว, รายเรื่อง ส่วน หรือสิ่งที่แยกกล่าวเป็นรายๆ, องก์ ตอนหนึ่งๆหรือชุดหนึ่งๆของเรื่องละคร ฉากหนึ่ง ๆ ของละคร.อํกฺ อกิ วา องฺก วา ลกฺขเณ, ฮ. ส. องฺก.
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-159

(0.0398 sec)