Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ช่วงเวลา, เวลา, ช่วง , then ชวง, ช่วง, ชวงวลา, ช่วงเวลา, เพลา, วลา, เวล, เวลา, เวฬา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ช่วงเวลา, 179 found, display 51-100
  1. ฌา : (อิต.) เย็น, เวลาเย็น. ฌา + สญฺฌา.
  2. ตกฺกกาล : ป. กาลนั้น, เวลานั้น
  3. ตทงฺค : ๑. นป. องค์นั้น, ส่วนนั้น; ๒. ค. ชั่วเวลา, ชั่วคราว, ชั่วขณะ
  4. ตทาตฺต : นป. กาลนั้น, เวลานั้น
  5. ตาวกาลิก : (วิ.) ประกอบด้วยกาลมีประมาณ เพียงนั้น, ตั้งอยู่ชั่วขณะขอยืม, ชั่วเวลา ขอยืม.
  6. ตาฬาวจร : ๑. นป. เวลาดนตรี, ดนตรี; ๒. ป. นักดนตรี
  7. ตีห : ก. วิ. สิ้นสามวัน, ตลอดสามวัน, เป็นระยะเวลาสามวัน
  8. ททฺทฬฺหติ : ก. ส่องแสงจ้า, ส่องแสงโชติช่วง
  9. ทฺวิมาสิก : ค. ประมาณสองเดือน, เป็นเวลาสองเดือน
  10. ทาน : (นปุ.) น้ำมันเป็นเครื่องเมาแห่งช้าง (ก ริมท), น้ำมันช้าง (เวลาช้างตกมันจะมี มันเหลวเยิ้มออกจากขมับช้าง). วิ.ทียเตติทานํ. อภิฯ และฎีกาอภิฯ. ทา ทาเน อวขณฺฑเน วา, ยุ. ส. ทาน.
  11. ทิฏฺฐกาล : ป. เวลาที่พบ, เวลาที่เห็น
  12. ทิวกาล ทิวากาล : (ปุ.) เวลากลางวัน.
  13. ทิวสภาค : ป. ส่วนแห่งวัน, เวลากลางวัน
  14. ทิวาฎฺฐาน : (นปุ.) ที่เป็นที่อยู่ในเวลากลางวัน.
  15. ทิวาฏฺฐาน : นป. ที่พักในเวลากลางวัน
  16. ทิวาวิหาร : ป. การอยู่สำราญในเวลากลางวัน
  17. ทิสากาก : ป. กาบอกทิศ, กาที่เขานำไปกับเรือเพื่อบอกทิศทางบกในเวลาเรืออยู่ในทะเล
  18. ทีฆสุรต : (ปุ.) สัตว์ผู้ยินดีในกาลหลับนานใน เวลากลางวัน, สุนัข, หมา. ทิว+ทีฆ+สุป+รต ลบ ทิว และ ป.
  19. ทุพฺภิกฺขนฺตรกปฺป : (ปุ.) กัปของระหว่างมี ภิษาอัน...ได้โดยยาก. ทุพภิกขันตรกัป คือระยะเวลาที่กำหนดไว้ว่าเป็นตอนที่ ขาดแคลนอาหาร.
  20. ทุมาสิก : ค. (ผม) ซึ่งงอกขึ้นมาเป็นเวลาสองเดือน
  21. ทุวงฺคุลกปฺป : ป. การถือว่าสองนิ้วควรได้แก่การกำหนดเวลาอาหารยืดออกไปจนถึงตะวันบ่ายเงายาวสองนิ้ว
  22. โทส : อ. ยามค่ำ, ตอนกลางคืน, ในเวลากลางคืน
  23. โทโส : (อัพ. นิบาต) ราตรี (กลางคืน), ค่ำ (เวลามืดตอนต้นของกลางคืน), หัวค่ำ.
  24. ธมฺมปชฺโชต : ป. ความโชติช่วงแห่งธรรม, ความรุ่งเรืองแห่งธรรม
  25. ธมฺมสมย : ป. สถานที่แสดงธรรม, เวลาแสดงธรรม
  26. ธมฺมสวนกาล ธมฺมสฺสวนกาล : (ปุ.) กาล เป็นที่ฟังซึ่งธรรม, กาลเป็นที่ฟังธรรม, เวลาเป็นที่ฟังธรรม.
  27. ธูมกาลิก : ค. ชั่วระยะเวลาแห่งควัน, ชั่วระยะเวลาเผาศพ
  28. นหานกาล : ป. เวลาอาบน้ำ
  29. นหานจุณฺณ : นป. จุณสำหรับอาบน้ำ, เครื่องลูบไล้, เครื่องทา, ผงสำหรับถูตัวเวลาอาบน้ำ
  30. นาติกาล : (ปุ.) เวลาเกินหามิได้ (ไม่ผิดเวลา ไม่เกินเวลา).
  31. นิทฺทายนกาล : (ปุ.) กาล เป็นที่ประพฤติซึ่ง ความหลับ (เวลากำลังนอนหลับ).
  32. ปกฺขพิลาล : ป. นกเค้าแมว, ค้างความแม่ไก่ (ค้างคาวใหญ่ บางตัวมีช่วงปีกกว้างถึงห้าฟุต)
  33. ปจฺฉาภตฺต : ก. วิ. ภายหลังอาหาร, เวลาบ่าย
  34. ปญฺจมหาวิโลกน : นป. การตรวจตราใหญ่ห้าประการ (เวลา, ประเทศ, ทวีป, ตระกูล, มารดา)
  35. ปณฺห : นป. เช้า, เวลาเช้า
  36. ปทีปกาล : ป. เวลาที่ควรตามประทีป, เวลาที่ควรจุดโคมไฟ
  37. ปโทส : (ปุ.) กาลอันเป็นเบื้องต้นแห่งราตรี, พลบค่ำ, เวลาพลบค่ำ. วิ. โทสาย รตฺติยา ปารมฺโภ ปโทโส. ลบ อารมฺภ แล้วแปร ป ไว้หน้า อีกอย่างหนึ่ง วิ. ปทุสฺสันติ ยตฺถ สพฺพกมฺมานีติ ปโทโส. ปปุพฺโพ, ทุสฺ โทสเน, โณ.
  38. ปรมฺปรโภชน : (นปุ.) โภชนะอันคนอื่นนิมนต์ ภายหลัง, โภชนะที่คนนิมนต์ทีหลัง. ภิกษุ รับนิมนต์ฉันไว้แห่งหนึ่ง แล้วไม่ไปฉัน กลับไปฉันที่เขานิมนต์ทีหลังอันเป็นเวลา เดียวกัน เรียกว่า ฉันเป็นปรัมประ ทรง ห้ามไว้ พุทธประสงค์ เพื่อรักษาศรัทธา ( หน้า ) ของทายกทายิกาผู้นิมนต์ก่อน. ปญฺจนฺนํ โภชนานํ อญฺญตเรน โภชเนน นิมนฺติโต ตํ ฐเปตฺวา อญฺญานํ ปญฺจนฺนํ โภชนา นํ อญฺญตรํ โภชนํ ภุญฺชติ. เอตํ ปรมฺปรโภชนํ นาม. ไตร. ๒/๓๒๐
  39. ปริจฺเฉทกาล : (ปุ.) เวลาเป็นที่กำหนด, เวลาที่มี กำหนด, เวลาที่มีกำหนดเอาไว้.
  40. ปาทฉิทฺท : นป. ช่วงวงเท้า, ก้าว
  41. ปุพฺพณฺห : (นปุ.) เบื้องต้นแห่งวัน, เวลาอันเป็นเบื้องต้นแห่งวัน, เวลาเช้า. อหสฺส ปพฺพํ ปุพฺพณฺหํ. อหสฺส อณฺหภาโว (แปลง อห เป็น อณฺห).
  42. ปุเรภตฺต : (นปุ.) ก่อนแห่งภัต, กาลก่อนแต่กาลแห่งภัต (ในเวลาก่อนฉัน), ก่อนอาหาร, เวลาก่อนอาหาร, ปุเรภัต, วิ. ภตฺตสฺส ปุเร ปุเรภตฺตํ. ภตฺตา วา ปุเร ปุเรภตฺตํ.
  43. พลวปจฺจุส พลวปจฺจูส : (ปุ.) กาลอันกำจัดเฉพาะซึ่งมืดมีกำลัง, เวลาย่ำรุ่ง.
  44. พลวปจฺจูสมย : (ปุ.) สมัยอันกำจัดเฉพาะซึ่งมืดมีกำลัง, สมัยอันกำจัดเสียซึ่งมืดมีกำลัง, เวลาย่ำรุ่ง.
  45. พุทฺธกาล : (ปุ.) กาลแห่งพระพุทธเจ้า, เวลาที่พระพุทธเจ้ายังทรงพระชนม์อยู่.
  46. พุทฺธนฺตร : (นปุ.) ระหว่างแห่งพระพุทธเจ้า, ระยะแห่งพระพุทธเจ้า, พุทธันดร คือ ระยะเวลาระหว่างพระพุทธเจ้า, พุทธันดร คือ ระยะเวลาระหว่างพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งกับพระพุทธเจ้าอีกพระ องค์หนึ่ง.
  47. พุทฺธปฺปาท พุทฺธุปฺปาทกาล : (ปุ.) กาลเป็นที่บังเกิดแห่งพระพุทธเจ้า, เวลาที่พระพุทธเจ้าเกิดขึ้นในโลก (โลกยุคมีพระพุทธเจ้า).
  48. ภงฺคกฺขณ : ป. ขณะหรือเวลาที่สลายไป
  49. ภตฺตกาล : (ปุ.) เวลาแห่งภัต, ภัตกาล คือ เวลาฉันอาหารของภิกษุ-สามเณร หรือ ผู้รักษาอุโบสถศีล.
  50. ภุตฺตปาตราส : (วิ.) ผู้มีอาหารอันบุคคลพึงกินในเวลาเช้าอันบริโภคแล้ว.
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-179

(0.0259 sec)