Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เรื่องสำคัญ, เรื่อง, สำคัญ , then รอง, รองสำคญ, เรื่อง, เรื่องสำคัญ, สำคัญ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เรื่องสำคัญ, 182 found, display 101-150
  1. เมถุนธมฺม : (ปุ. นปุ) เรื่องความประพฤติของหญิงและชายผู้มีความพอใจเสมอกัน, เรื่องของคนคู่กัน, ประเพณีของชาวบ้าน, เรื่องของชาวบ้าน, ธรรมของอสัตบุรุษ, เมถุนธรรม (เรื่องของคนเป็นคู่ๆ พึงประพฤติ). วิ. เมถุนํ เอว ธมฺโม เมถุนธมฺโม.
  2. ยมกวคฺควณฺณนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องพรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งวรรคอันบัณฑิตกำหนดนับด้วยเรื่องอันแสดงของที่เป็นคู่ๆ กัน.
  3. ยุทฺธสตฺถ : (นปุ.) ตำรากล่าวด้วยเรื่องการต่อสู้กัน, ฯลฯ, ตำราว่าด้วยเรื่องของการต่อสู้กัน, ฯลฯ, ตำราว่าด้วยเรื่องการทำสงคราม, ยุทธศาสตร์ (วิชาการรบ).
  4. วรงฺค : ป. อวัยะสำคัญ คือ หัว
  5. วิคฺคาหิกกถา : อิต. พูดหาเรื่องทะเลาะ
  6. วิชฏน : นป. การหมดเรื่องยุ่ง
  7. สมุทฺทกฺขายิก : (นปุ.) เรื่องทะเล.
  8. สรูป : (นปุ.) รูปแห่งตน, รูปของตน. ส+รูป. รูปเหมือนกัน. สม+รูป. รูปอันมีอยู่, รูปมีอยู่. สภาวะ, ธรรมชาติ. สนฺต+รูป. แปลง สนฺต เป็น ส. ความสมควรแก่ภาวะของตน วิ. รูปสฺส ยถา สรูปํ. ส แทน ยถา. ไทย สรุป สรูป ใช้เป็นกริยาว่า รวมความมาย่อเอาแต่ประเด็นของเรื่อง ใช้เป็นนามในความว่า ประเด็นย่อ ๆ ของเรื่อง.
  9. เหตุ : (ปุ.) มูลเค้า, เค้ามูล, ข้อความ, เรื่องราว, เหตุ คือ สิ่งหรือเรื่องที่ทำให้เกิดผล. วิ. หิโณติ ปริณมติ การิยรูปตฺนติ เหตุ. หิ คติยํ, ตุ. หิโณติ ผล เมตฺถาติ วา เหตุหิ ปติฎฺฐายํ. หิโณติ ผลํ เอเตนาติ วา เหตุ. หิ ปวตฺตเน. ส. เหตุ.
  10. อกรณียกิจฺจ : (นปุ.) กิจอัน....ไม่พึงทำ, กิจอัน....ไม่ควรทำ, อกรณียกิจ.กิจอันบรรพชิตไม่ควรทำ (ทำไม่ได้) มี๔ อย่าง.ความเป็นจริงกิจที่บรรพชิตไม่ควรทำทั้งสิ้น ชื่ออกรณียกิจ ที่ท่านยกขึ้นกล่าวเพียง ๔ อย่างนั้นกล่าวเฉพาะข้อที่สำคัญซึ่งล่อแหลมต่อการขาดจากความเป็นบรรพชิตและเพื่อให้เหมาะแก่เวลาเมื่ออุปสมบทเสร็จ.อกรณียกิจของคนทั่วไปได้แก่ กายทุจริต วจีทุจริต และมโนทุจริต.
  11. อกองฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, สาย, แถว, แนว, รายเรื่อง ส่วน หรือสิ่งที่แยกกล่าวเป็นรายๆ, องก์ ตอนหนึ่งๆหรือชุดหนึ่งๆของเรื่องละคร ฉากหนึ่ง ๆ ของละคร.อํกฺ อกิ วา องฺก วา ลกฺขเณ, ฮ. ส. องฺก.
  12. อก องฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, สาย, แถว, แนว, รายเรื่อง ส่วน หรือสิ่งที่แยกกล่าว เป็นรายๆ, องก์ ตอนหนึ่งๆหรือชุดหนึ่งๆ ของเรื่องละคร ฉากหนึ่ง ๆ ของละคร. อํกฺ อกิ วา องฺก วา ลกฺขเณ, ฮ. ส. องฺก.
  13. อคฺคญฺญสุตฺต : (นปุ.) อัคคัญญสูตร(กล่าวถึงเรื่องสร้างโลก).
  14. องฺคท : (นปุ.) ทองต้นแขน, กำไลต้นแขน, เครื่องประดับแขน. วิ, องฺคํ ทายติ โสเธตีติ องฺคทํ องฺคปุพฺโพ, ทา โสธเน, อ. องฺคฺคมเน วา, โท. ส. องฺคท องคท ชื่อบุตรของพาลีในเรื่องรามายณะ.
  15. อฏฺฐิสญฺญา : อิต. ความสำคัญในกระดูก
  16. อตฺตวาท : ป. วาทะว่ามีตน, ทฤษฎีว่าด้วยเรื่องวิญญาณ
  17. อตฺตสญฺญา : (อิต.) ความสำคัญว่าเป็นตน.วิ. อตฺตาอิติ สญฺญา อตฺตสญฺญา.
  18. อตฺถคติ : (อิต.) อันถึงซึ่งเนื้อความ, อรรถคดี(เรื่องที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล).
  19. อนุขุทฺทก : ค. เล็กน้อย, ไม่ค่อยสำคัญ
  20. อนุวาทาธิกรณ : (นปุ.) อธิกรณ์อันเกิดจากการกล่าวหา, เรื่องที่ต้องระงับอักเกิดจากการกล่าวหา, อนุวาทาธิกรณ์(การโจทกันด้วยอาบัตินั้นๆ).
  21. อนุสาสนี : (อิต.) การพร่ำสอน, คำสั่งสอน, อนุศาสนี (คำสอนสำคัญที่ต้องสอนบ่อยๆ)ส. อนุศาสนี.
  22. อปฺปมตฺต : ค. ๑. ไม่ประมาท, ระมัดระวัง, ตื่นอยู่; ๒. มีประมาณน้อย, ไม่สำคัญ
  23. อปฺปมตฺตก : นป. ของมีประมาณน้อย, ของไม่สำคัญ
  24. อปรนฺตานุทิฏฺฐิ : ค. ผู้มีความเห็นคล้อยตามเรื่องในส่วนอนาคต
  25. อปุตฺตกเสฏฐิวตฺถุ : (นปุ.) เรื่องของเศรษฐีผู้ไม่มีบุตรมีวิ.ตามลำดับดังนี้-นปุพ.พหุพ.นตฺถิตสฺสปุตฺตาติอปุตฺตโกกสกัด.วิเสสนบุพ.กัม.อปุตฺตโก จ โสเสฏฺฐีจาติอปุตฺตกเสฏฺฐี.
  26. อภิธมฺม : (ปุ. นปุ.) ธรรมยิ่ง, ธรรมอย่างสูง, ธรรมอันประเสริฐ, อภิธรรมกล่าวด้วยเรื่องจิตเจตสิกรูปและนิพพานเป็นปิฎกที่๓.ส. อภิธรรม.
  27. อวตฺถุ : ค. ไม่มีมูล, ไม่มีเรื่อง, ไม่มีวัตถุ
  28. อวมญฺญน : (นปุ.) ความสำคัญ, ความเข้าใจ.อวปุพฺโพ, มนฺญาเณ, ยุ.ลงยปัจ.ประ-จำหมวดธาตุก่อนเป็นนฺยแปลงนฺยเป็นญฺญแปลงยุเป็นอน.
  29. อวิปลฺลตฺถ : ค. ไม่ผิด, ไม่ผันแปร, ไม่คลาดเคลื่อน, ไม่สำคัญผิด
  30. อสปฺปาณกสญฺญี : ค. ผู้มีความสำคัญว่าไม่มีสัตว์มีชีวิต, มีความสำคัญว่าไม่มีตัวสัตว์
  31. อสฺมิมาน : (ปุ.) มานะว่า อ. เรามีอยู่, มานะว่าอ. เราเป็น, มานะว่าเรามีอยู่, มานะว่าเราเป็น, การถือว่าเราเป็นนั่นเป็นนี่, การถือตัว, การถือเราถือเขา, ความถือตัว, ความสำคัญว่ามีตัวตน, อัสมิมานะ.
  32. อสุภสญฺญา : (อิต.) ความสำคัญว่าไม่งาม, ฯลฯ.วิ. อสุภาอิติสญฺญาอสุภญฺญา.
  33. อเสขอเสกฺข : (ปุ.) บุคคลผู้ไม่ต้องศึกษา, บุคคลผู้ไม่ต้องศึกษาเพื่อคุณอันยิ่งขึ้นไปอีก(เพราะจบการศึกษาแล้วคือละกิเลสได้หมดสิ้นแล้ว), บุคคลผู้สำเร็จการศึกษา (ในเรื่องละกิเลสเพราะละกิเลสได้เด็ดขาดแล้ว), พระอเสขะคือ พระอริยบุคคลผู้บรลุพระอรหันตผลแล้ว, อเสขะอเสกขะชื่อของพระอรหันต์, พระอรหันต์.วิ.ตโตอุตฺตริกรณียาภาวโตนตฺถิสิกฺขาเอตสฺสาติอเสโขอเสกฺโขวา.
  34. อาขยายิกา : อิต. อาขยายิกศาสตร์, เรื่องราว, นิทาน, ประวัติ
  35. อาทยุปลทฺธิ : (อิต.) ความรู้สิ่งที่เกิดก่อน, ความรู้เรื่องที่เกิดก่อน, ความรู้เรื่องปฐมสัตว์, ปฐมสัตย์วัตถุ.
  36. อาปตฺตาธิกรณ : (นปุ.) เรื่องที่ต้องระงับอันเกิดจากการต้องอาบัติ, การต้องอาบัติ, การต้องอาบัติทั้งปวง, เรื่องของอาบัติ.
  37. อาโลกสญฺญา : อิต. อาโลกสัญญา, ความสำคัญว่ามีแสงสว่าง
  38. อิตฺถิกถา : อิต. อิตถีกถา, การพูดถึงเรื่องผู้หญิง
  39. อิติภวาภวกถา : (อิต.) เรื่องความเจริญและ ความเสื่อมด้วยประการนั้น ๆ
  40. อิติหาส : (ปุ.) อิติหาสศาสตร์ ศาสตร์ว่าด้วย พงศาวดารยืดยาว มีภารตยุทธ์ เป็นต้น. เรื่องราว, นิทาน.
  41. อุชฺฌานสญฺญี : ค. ผู้มีเจตนาร้าย, มีจิตแสวงหาเรื่องที่จะกล่าวโทษ
  42. อุฏฺฐานสญฺญา : (อิต.) ความสำคัญในการ ลุกขึ้น.
  43. อุตฺตมงฺค : นป. ส่วนสำคัญที่สุดของร่างกายคือศีรษะ, ส่วนสูงสุดของร่างกาย
  44. อุทฺธรณ : (นปุ.) การยกขึ้น, การรื้อขึ้น, ความยกขึ้น, ความรื้อขึ้น. ไทยใช้คำ อุทธรณ์ หมายถึงการฟ้องร้องต่อศาลที่สอง (ศาล อุทธรณ์) เพื่อขอร้องให้ศาลรื้อฟื้นเรื่องขึ้น พิจารณาและตัดสินใหม่. อุปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, ยุ. แปลง ห เป็น ธ ซ้อน ทฺ. ส. อุทฺธรณ.
  45. อุปญฺญาส : (ปุ.) คำนำเรื่อง, อารัมภกถา. วิ. อุป ปฐมํ ปุริมวจนสฺส สมีปํ วา นฺยาโส ฐปนํ อุปญฺญาโส. อุป นิ ปุพฺโพ อาสฺ อุปเวสเน, อ. แปลง อิ ที่ นิ เป็น ย รวมเป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญ ซ้อน ญฺ หรือแปลง นฺย เป็น ญฺญ. สาวัตถทีปนี เป็น อุปญาส.
  46. อุปลาปน : นป. การโกหกตอแหล, เรื่องเหลวไหล, การชักชวน
  47. เอกวตฺถุ : (นปุ.) เรื่องหนึ่ง, เรื่องเดียว, สิ่ง หนึ่ง, ฯลฯ.
  48. โอวาทปาฏิโมกฺข โอวาทปาติโมกฺข : (ปุ.) คำสั่งสอนอัน เป็นประธานโดยความเป็นใหญ่, โอวาทปาฏิโมกข์, โอวาทปาติโมกข์ ชื่อ โอวาทซึ่งประพุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระอรหันต์ ๑๒๕๐ องค์ เป็น เอหิภิกขุอุป สัมปทา ทั้งสิ้น ซึ่งมาประชุมกันโดยมิได้ นัดหมาย ณ วันเพ็ญมาฆบูชาหลังตรัสรู้ แล้วได้ ๙ เดือน เป็นหลักสำคัญ (หัวใจ) ของพระพุทธศาสนา มหาปธานสูตร ที. มหา. ไตร. ๑๐/๕๔.
  49. กุฏฐ : ๑. นป. โรคเรื้อน; ต้นโกฐ; ๒. ค. เล็ก, น้อย, รอง
  50. คุณ : (วิ.) ซ้อน, ทบ, รอง, น้อย, ประกาศ.
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-182

(0.0465 sec)