Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แสดง , then สดง, แสดง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : แสดง, 190 found, display 101-150
  1. ปริทีปน : นป., - นา อิต. การแสดง, การชี้แจง, การอธิบาย, การให้ความสว่าง
  2. ปริทีเปติ : ก. แสดง, ชี้แจง, ให้ความสว่าง
  3. ปวิทเสติ : ก. ชี้แจง, แสดงไข, อธิบาย
  4. ปาจิตฺติย : นป. ข้อห้ามทางพระวินัยชนิดหนึ่งชื่อ ปาจิตติยะ ซึ่งเมื่อต้องแล้วย่อมบริสุทธิ์ด้วยการแสดง
  5. ปาฐก : ค. ผู้แสดง, ผู้อ่าน, ผู้รู้, ผู้สาธยายคัมภีร์, ผู้ชำนาญ
  6. ปิยจกฺขุ : นป. การมองกันด้วยสายตาอันน่ารัก, การมองด้วยสายตาแสดงไมตรีจิต
  7. ผุสฺสรถ : ป. รถที่เทียมด้วยม้าขาวของพระเจ้าจักรพรรดิ ซึ่งถูกปล่อยไปเพื่อแสดงแสนยานุภาพ, รถประจำแคว้น
  8. พทฺธญฺชลิก : ค. ผู้ประนมมือขึ้นแสดงความเคารพ
  9. พฺรหฺมกิริย : ป. นักแสดงพวกหนื่ง
  10. พฺรหฺมปฺโผฏน : นป. การปรบมือแสดงความยินดีอันยิ่งใหญ่
  11. ภตฺตุเทสก ภตฺตุทฺเทสก : (วิ.) ผู้แสดงซึ่งภัต, ผู้แจกซึ่งภัต, ผู้แสดงภัต. ผู้แจกภัต.
  12. มาฆบูชา : (อิต.) การบูชาในวันเพ็ญเดือน ๓, การบูชาด้วยปรารภเหตุสำคัญของพุทธศาสนาซึ่งเกิดขึ้นในวันเพ็ญเดือนมาฆะ ถ้าปีใดมีอธิกมาสจะเลื่อนไปทำการบูชาเพ็ญกลางเดือน ๔ วันมาฆบูชามีความสำคัญ ดังนี้ – ๑.  เพราะตรงกับวันจาตุรงคสันนิบาต (ดูคำจตุรงฺคสนฺนิปาต ด้วย). พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ภายหลังจากตรัสรู้ได้ ๙ เดือน และ ๒. เพราะตรงกับวันปลงพระชนมายุสังขารในพรรรษาสุดท้าย ก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพาน ๓ เดือน.วันมาฆบูชา เป็นวันพระสงฆ์.
  13. มายาการ : (ปุ.) คนผู้ทำมารยา, คนเจ้ามารยา, คนเจ้าเล่ห์, คนเล่นกล, คนผู้แสดงการขบขัน, คนเล่นตลก, คนตลก, จำอวด.
  14. มุขสงฺโกจน : นป. การทำปากหมุบหมิบแสดงความไม่พอใจ
  15. ยมกปาฏิหาริย : (นปุ.) ปาฏิ หาริย์เป็นคู่, ปาฏิหาริย์ที่ทรงแสดงปราบเดียรถีย์ มีครั้งเดียวเท่านั้น.
  16. ยมกวคฺควณฺณนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องพรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งวรรคอันบัณฑิตกำหนดนับด้วยเรื่องอันแสดงของที่เป็นคู่ๆ กัน.
  17. รงฺคการ : ป. ผู้ย้อม; ผู้แสดง, ผู้เล่น
  18. วิชมฺภติ : ก. กระซิกกระซี้, แสดงท่า, หาว
  19. สนฺทสฺสน : (นปุ.) การแสดง, การชี้แจง. สํปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเน, ยุ. แปลง ทิส เป็น ทสฺส.
  20. สนฺทีปน : นป. การจุดไฟ, การแสดงให้เข้าใจ
  21. สนฺทีเปติ : ก. จุดไฟ, แสดงให้เห็น, เข้าใจ
  22. สนฺเทส : ป. การชี้แจ้ง, การแสดง, ข่าวสาร
  23. สภาคาปตฺติ : (อิต.) อาบัติเหมือนกัน, สภาคาบัติ ชื่ออาบัติที่ภิกษุต้องเหมือนกัน เช่น ต้องอาบัติปาจิตตีย์ เพราะฉันอาหารในเวลาวิกาล ท่านห้ามไม่ให้แสดงแก่กันและกัน ต้องแสดงแก่ภิกษุที่ต้องอาบัติไม่เหมือนกัน ถ้าไม่สามารถหาภิกษุเช่นนั้นได้ จะแสดงก็ได้ แต่ท่านปรับอาบัติทุกกฎ ทั้งผู้แสดงและผู้รับแสดง.
  24. สวณฺณนา : อิต. การพรรณนา, การอธิบาย, การแสดง
  25. สสูจก : ค. ผู้ชี้แจง, ผู้แสดง
  26. สหมฺปติ : (ปุ.) สหัมบดี ชื่อท้าวมหาพรหมผู้มาทูลอารธนาให้พระพุทธองค์ทรงแสดงธรรม, ท้าวสหัมบดี, ท้าวสหัมบดีพรหม.
  27. สาธุการ : (ปุ.) เสียงเครื่องกระทำว่าสาธุ, การเปล่งวาจาว่าชอบ, การเปล่งวาจาว่าชอบแล้ว, การแสดงความยินดี, การแสดงความยินดีด้วย, การแสดงความเห็นชอบด้วย.
  28. สุเทสิต : กิต. แสดงดีแล้ว
  29. สูจน : (นปุ.) การแต่ง, ฯลฯ, คำชี้แจง, คำประกาศ, คำแสดง, คำบ่ง, คำระบุ, การส่อเสียด, คำส่อเสียด. ยุ ปัจ.
  30. เสลน : (นปุ.) เสียง, เสียงโห่ร้องของนักรบ (โยธสีหนาท). สีลฺ อุปธารเณ อุจฺเจ วา. ยุ. แปลง อี เป็น เอ. การร้องแสดงความยินดี ก็แปล.
  31. ห โห : (อัพ. นิบาต) โอ แสดงการเชื้อเชิญร้อยเรียก.
  32. อก : (อัพ. นิบาต) ไม่, ไม่ควร, อย่า.ปฏิเสธ นตฺถนิปาต.ส.ใช้เป็นอุปสรรคและอุทานแสดงความสงสาร.
  33. อกฺขาตาร : ป. ผู้บอก, ผู้กล่าว, ผู้ประกาศ, ผู้แสดง
  34. อกฺขาตุ : ป. ผู้บอก, ผู้กล่าว, ผู้แสดง
  35. อกฺขาน : (นปุ.) การบอก, การกล่าว, การแสดง, การชี้แจง, การสวด, เรื่อง, นิทาน, การเล่านิทาน, เสภา, อาขยาน (บทท่องจำ).อาปุพฺโพ, ขา ปกถเน, ยุ. ส. อาขฺยาน
  36. อญฺชลิกา : อิต. การยกมือขึ้นแสดงความเคารพ
  37. อตฺถกฺขายิ : ค. แสดงประโยชน์, ชี้ประโยชน์
  38. อตฺถกร : ค. แสดงประโยชน์, ชี้ประโยชน์
  39. อธิวุตฺติ : อิต. การพูด, การแสดง, ความเห็น
  40. อนตฺตลกฺขณสุตฺต : (นปุ.) อนัตลักขณะสูตรชื่อพระสูตรซึ่งพระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระเบญจวรรคึย์.
  41. อนุทฺทิฏฺฐ : ค. ไม่ได้แสดง, ไม่ได้กำหนด
  42. อนุทิฏฺฐ : ๑. นป. การเจาะจงให้, การอุทิศ ; ๒. ค. แสดง, บอก; อุทิศให้
  43. อนุทิสติ : ก. แสดง, ชี้
  44. อนุทีเปติ : ก. แสดง, อธิบาย
  45. อนุปุพฺพิกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเครื่องกล่าวโดยอันเป็นไปตามซึ่งธรรมมีในเบื้องต้น, สัททชาติเป็นเครื่องกล่าวโดยอันเป็นไปตามซึ่งที่อันมีในเบื้องหน้า, สัททชาติเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งธรรมโดยลำดับ, ถ้อยที่แสดงไปตามลำดับ, การกล่าวโดยลำดับวิ.อนุปุพฺเพน กถาอนุปุพฺพิกถา.แปลงอที่สุดศัพท์เป็นอิหรือลงอิอาคมเป็นอนุปุพฺพีกถาโดยแปลง อเป็นอีบ้าง.อนุปุพฺพ เป็นต้นเมื่อเข้ามาสมาสกับศัพท์ที่สำเร็จมาจากกรฺกถฺธาตุจะแปลงอของศัพท์ต้นเป็นอิหรืออีเสมอ.
  46. อนุโมทก : ค. ผู้อนุโมทนา, ผู้แสดงความยินดี
  47. อนุโมทติ : ก. อนุโมทนา, ชื่นชม, แสดงความยินดี
  48. อนุโมทน : นป. การอนุโมทนา, การแสดงความชื่นชม, การแสดงความยินดี
  49. อปจายน : (นปุ.) การแสดงความเคราพ, การนับถือ, การประพฤติถ่อมตน, การอ่อนน้อม, ความประพฤติถ่อมตน, ฯลฯ.อป+จายุธาตุ ยุ ปัจ.ส. อปจายน.
  50. อปทิส : (ปุ.) การอ้าง, การแสดงอ้าง, การกล่าวอ้าง, การชี้แจง.
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-190

(0.0178 sec)