Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แสดง , then สดง, แสดง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : แสดง, 190 found, display 51-100
  1. ทีปน : ค., นป. ซึ่งส่อง, ซึ่งแสดง, ซึ่งอธิบาย, การแสดง, การชี้แจง, การอธิบาย
  2. ทีปนี : ค., อิต. ซึ่งส่อง, ซึ่งแสดง, ซึ่งชี้แจง, ซึ่งอธิบาย; คัมภีร์อธิบายความ
  3. ทีปิต : กิต. (อันเขา) แสดงแล้ว, ชี้แจงแล้ว, อธิบายแล้ว
  4. ทีปิตุ : ป. บุคคลผู้แสดง, ผู้ชี้แจง, ผู้อธิบาย
  5. เทส : (ปุ.) ประเทศ, บ้านเมือง, ถิ่น, ที่, ถิ่นที่, ท้องที่, ตำบล, จังหวัด, ชาวเมือง, การแสดง. ทิสฺ อคิสฺชฺชนปกาสอุจฺจารเณสุ, โณ. ส. เทศ.
  6. เทสก : ค. ผู้แสดง, ผู้ชี้แจง, ผู้แนะนำ, ผู้อธิบาย, ผู้เทศก์
  7. เทสก เทสิก : (วิ.) ผู้แสดง, ผู้บรรยาย, ผู้ชี้แจง, ผู้สอน. ทิสฺ ทิสิ วา อุจจารเณ, ณวุ. ส. เทศก.
  8. เทสนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องแสดง, การแสดง, การบรรยาย, การชี้แจง, การแถลง, การสอน, เทสนา, เทศนา (การแสดงธรรม คำสั่งสอนในทางศาสนา). วิ. เทสียตีติ เท สนา. เทสนํ วา เทสนา, ทิสฺ ทิสิ วา อุจุจารเณ, ยุ, อิศฺถิยํ อา.
  9. เทสนาคามินี : (อิต.) เทสนาคามินี ชื่ออาบัติ, อาบัติเป็นเทสนาคามินี คืออาบัติที่ภิกษุ ต้องเข้าแล้ว จะพ้นจากอาบัตินั้นได้โดย การแสดง (ปลงอาบัติ) ได้แก่อาบัติ ถุลสัจจัย ปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนียะ ทุกกฎ และทุพภาสิต.
  10. เทสนาวิธีกุสลตา : (อิต.) ความที่แห่ง...นั้น เป็นผู้ฉลาดในวิธีแห่งการแสดง, ความที่ แห่งพระพุทธเจ้าทรงเป็นผู้ฉลาดในวิธี แห่งเทศนา.
  11. เทสนาวิลาส : ป. ความไพเราะแห่งเทศนา, ทำนองเทศน์อันไพเราะ, ลีลาการแสดงธรรมอันจับใจ
  12. เทสิต : กิต. (อันเขา) แสดงแล้ว, ชี้แจงแล้ว, อธิบายแล้ว, เทศน์แล้ว
  13. เทเสติ : ก. แสดง, ชี้แจง, แนะนำ, สั่งสอน, เทศน์; แสดงหรือปลง (อาบัติ)
  14. เทเสตุ : (วิ.) ผู้แสดง. ทิสฺ ธาตุ ริตุ ปัจ.
  15. ธมฺมกถิกตฺต : นป. การพูดถึงธรรม, การแสดงธรรม
  16. ธมฺมกลา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งธรรม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งธรรม, การกล่าวธรรม, ถ้อยคำอันเป็นธรรม.
  17. ธมฺมคริย : นป. การแสดงชนิดหนึ่งของนักแสดงกายกรรมโลดโผน
  18. ธมฺมจกฺกปฺปวตฺตนสุตฺต : (นปุ.) ธรรมจัก- กัปปวัตตนสูตร ชื่อพระสูตรซึ่งพระพุทธ- เจ้าทรงแสดงครั้งแรกแก่พระเบญจวรรคีย์ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ปฐมเทศนา.
  19. ธมฺมตฺถเทสนา : อิต. การแสดงธรรมหรือความหมายแห่งข้อธรรม
  20. ธมฺมเทสนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องแสดงซึ่ง ธรรม, การแสดงธรรม, การชี้แจงธรรม, การสอนธรรม.
  21. ธมฺมปทฎฺฐกถา : (อิต.) อรรถกถาเป็นเครื่องพรรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งบทแห่งธรรม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งเนื้อความแห่งบทแห่งธรรม, อรรถกถาแห่งธรรมบท.
  22. ธมฺมปีฐ : (นปุ.) ตั่งอันบุคคลตั้งไว้เพื่อรักษา ธรรม, ที่นั่งอันบุคคลตั้งไว้สำหรับแสดง ธรรม, ธรรมาสน์.
  23. ธมฺมสภา : (อิต.) โรงเป็นที่กล่าวกับเป็นที่ แสดงซึ่งธรรม, โรงเป็นที่ประชุมกล่าว เป็นที่แสดงซึ่งธรรม, ธมฺมสภา (ที่ประชุมสอนศาสนา).
  24. ธมฺมสมย : ป. สถานที่แสดงธรรม, เวลาแสดงธรรม
  25. ธมฺมสากจฺฉา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว กับเป็นเครื่องแสดงซึ่งธรรม, การสนทนาซึ่งธรรม, การสนทนาธรรม.
  26. ธมฺมสาลา : (อิต.) ศาลาเป็นที่แสดงซึ่งธรรม, ศาลาการเปรียญ.
  27. ธมฺมาสน : (นปุ.) ที่เป็นที่นั่งแสดงซึ่งธรรม, ที่สำหรับนั่งแสดงธรรม, อาสนะเป็นที่ แสดงซึ่งธรรม, ธรรมาสน์ (ที่สำหรับภิกษุสามเณรนั่งแสดงธรรม). วิ. ธมฺมํ เทเสนฺโต อาสิ เอตฺถาติ ธมฺมาสนํ. ส. ธรฺมาสน.
  28. ธมฺมิกถา ธมฺมีกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่อง กล่าวประกาศด้วยธรรม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งธรรม, ถ้อยคำอันเป็นไปในธรรม, คำพูดอันเป็นไปในธรรม, การพูดด้วยเรื่องธรรม, ถ้อยคำที่ประกอบ ด้วยเหตุผล, ถ้อยคำที่มีเหตุผล. ธมฺม+กถา อิ, อี อาคม.
  29. ธมฺมีกถา : อิต. ธรรมีกถา, การกล่าวธรรม, การแสดงธรรม
  30. นตฺต : ๑. นป. กลางคืน; ๒. นป. การฟ้อนรำ, การเต้นรำ, การร่ายรำ, การแสดง
  31. นนฺทิมุขี : ค. มีดวงหน้าส่องถึงความยินดีปรีดา, มีหน้าแสดงความร่าเริงแจ่มใส
  32. นาคนาฏก : ป. งูนักฟ้อน, นักฟ้อนคืองู, งูที่ใช้แสดงกล
  33. นาฏก : ๑. ป. ตัวละคร, นักฟ้อน, นักเต้นรำ, นักแสดง, ๒. นป. การแสดง, การละคร
  34. นาฏฺย : (นปุ.) การเต้น, การรำ, การเต้นรำ, การฟ้อน, การฟ้อนรำ, การแสดงละคร, การขับ, การขับร้อง, การประโคม (คือ การบรรเลงดนตรี เพื่อสักการบูชาหรือ ยกย่อง), การประโคมดนตรี, การดีดสีตี เป่า. นฏฺ นตฺยํ, โณฺย. นจฺจํ วาทิตํ คีตํ อิติ อิทํ ตุริยติกํ นาฏยนาเมนุจฺจเต. อภิฯ.
  35. นิทฺทิสติ : ก. แสดง, ชี้แจง, อธิบาย
  36. นิทฺเทส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องแสดงออก, คำแสดงออก, คำจำแนกออก, คำชี้แจง, คำอธิบาย, การแสดงออก (มาให้เห็น ชัดเจน), การชี้, การชี้ให้เห็นโทษ, การแสดงอรรถที่เป็นข้อๆ ออก, นิทเทศ, นิเทศ (การแสดงอย่างพิสดาร).
  37. นิทสฺสิต : ค. อัน...ชี้แจงแล้ว, อัน...อธิบายแล้ว, อัน...แสดงแล้ว, ซึ่งถูกอ้างถึงแล้ว
  38. นิทสฺเสติ : ก. ชี้แจง, อธิบาย, แสดงความหมาย, แนะนำ
  39. นิยเมติ : ก. กำหนด, จำกัด, บังคับ, แสดงความหมาย
  40. นิวากต : (นปุ.) มหรสพ (การกระทำคือแสดง ของคณะ). นิวห+กต แปลง ห เป็น อา.
  41. ปกิตฺติต : กิต. สรรเสริญแล้ว, แสดงแล้ว
  42. ปญฺจาภิญฺญา : อิต. อภิญญาห้า, ความรู้ยิ่งห้าประการ (แสดงฤทธิ์ได้, หูทิพย์, ตาทิพย์, รู้ใจคนอื่น, ระลึกชาติได้)
  43. ปฏิชานาติ : ก. ปฏิญาณ, ยอมรับ (สารภาพ), ให้สัญญา, รับรอง, ตกลง, แสดงความเห็นชอบ
  44. ปฏิทสฺเสติ : ก. แสดงเฉพาะ, แสดงตน, ปรากฏใหม่
  45. ปฏิเทเสติ : ก. แสดงคืน, สารภาพ
  46. ปณมติ : ก. น้อมกายลงแสดงความเคารพ, นอบน้อม, เคารพ, บูชา, โค้ง, งอ
  47. ปณิปาต : ป. การหมอบลง, การหมอบกราน, การแสดงความเคารพ
  48. ปทกฺขิณา : อิต. ประทักษิณ, การเวียนขวา, การเดินเวียนรอบโดยหันเบื้องขวาเข้าหาปูชนียบุคคลหรือปูชนียวัตถุเพื่อเป็นการแสดงความเคารพ
  49. ปริญฺญาปตฺต : (นปุ.) แผ่นแสดงความรอบรู้, ปริญญาบัตร คือ บัตรที่แสดงวิทยฐานะ ของผู้สำเร็จการศึกษา มีศักดิ์และสิทธิ์ ระดับปริญญา.
  50. ปริทีปก : ค. ผู้แสดง, ผู้ชี้แจงให้, ผู้ให้ความสว่าง
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-190

(0.0189 sec)