Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กำหนัด , then กำหนด, กำหนัด .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กำหนัด, 192 found, display 51-100
  1. กติกา : (อิต.) การทำ, กฤษฎีกา. กติศัพท์ ก สกัด อา อิต. กติกา ไทยใช้ในความหมายว่า การนัดหมาย ข้อตกลง ข้อ บังคับ เงื่อนไขที่กำหนดไว้ สัญญาบัง เกิดแต่การทำ. กฤษฏีกา (แผลงมาจาก กติกา) ใช้เป็นชื่อของกฎหมาย ซึ่งฝ่าย บริหารบัญญัติออกใช้เมื่อคราวจำเป็นใน นามของพระมหากษัตริย์ เรียกว่าพระราช กฤษฎีกา.
  2. กมฺมวฏฐาน : นป. การกำหนดกรรม, การเป็นไปตามกรรม
  3. กายานุปสฺสนา : (อิต.) การพิจารณาเนือง ๆ ในกาย, การพิจารณาเนือง ๆ ซึ่งกาย, การกำหนดพิจารณากาย.
  4. กายานุปสฺสนาสติปฏฺฐ าน : (นปุ.) การตั้งไว้ ซึ่งสติกำหนดพิจารณาซึ่งกาย, การตั้งไว้ซึ่งสติเป็นเครื่องกำหนดพิจารณากาย, การตั้งสติกำหนดพิจารณากาย.
  5. กายานุปสฺสี : ป. ผู้พิจารณาเห็นกายในกายเป็นนิตย์, ผู้ตั้งสติกำหนดกาย
  6. กิจฺจญ าณ : (นปุ.) ความรู้ซึ่งกรรมอัน...พึงทำ, ฯลฯ, กิจจญาณ ชื่อของญาณอย่างที่ ๒ ใน ๓ อย่างของการเจริญอริยสัจ ๔ ได้แก่รู้ว่า ทุกข์เป็นของที่ควรกำหนดรู้ สมุทัยเป็น ของที่ควรจะ นิโรธ เป็นของที่ควรทำให้ แจ้ง มรรคเป็นของที่ควรทำให้เกิดมี.
  7. กิจฺจลกฺขณ : (นปุ.) ลักษณะอัน...พึงทำ, การกำหนดสิ่งที่พึงทำ, กิจจลักษณะ, กิจลักษณะ. ไทยใช้กิจจลักษณะเป็นวิเศษ ในความหมายว่า เป็นการเป็นงานเป็น เรื่องเป็นราว เป็นระเบียบเรียบร้อย.
  8. กิตฺตน : (นปุ.) การกำหนด, การสนทนา, การทัก อุ. นิมิตฺตกิตฺตนํ การทักนิมิต.
  9. กิตฺตนา : (อิต.) การกำหนด, การสนทนา, การทัก อุ. นิมิตฺตกิตฺตนํ การทักนิมิต.
  10. เกตก : (ปุ.) บุคคลผู้กำหนด, บุคคลผู้เรียก. กิตฺ ญาณสํเกตเนสุ, เกตฺ อามนฺตเน, ณวุ
  11. เกตน : (นปุ.) การกำหนด, การหมาย, ธง, บ้าน, เรือน, ที่อาศัย. กิตฺ ญาณนิวาเสสุ,ยุ.ส.เกตน.
  12. เกวลกปฺป : (ปุ.) การกำหนดทั้งสิ้น, กัปทั้งสิ้น.
  13. ขทิรงฺคชาตก : (นปุ.) ชาดกอันบัณฑิตกำหนด แล้วด้วยถ่านแห่งไม้ตะเคียน.
  14. คามสีมา : (อิต.) สีมากำหนดด้วยเขตบ้าน, สีมามีเขตบ้านเป็นกำหนด.
  15. จกฺกวาฏ : ป. ที่กำหนด, เขตแดน, ที่ตั้งตะเกียง
  16. จตุธาตุววฏฐาน : (นปุ.) การกำหนดซึ่งธาตุสี่, ความกำหนดธาตุสี่.
  17. จิตฺตปริยาย : ป. ปริยายแห่งจิต, การกำหนดรู้จิต
  18. จีวรกาล : (ปุ.) คราวเป็นที่ถวายซึ่งจีวร, กาล เป็นที่ถวายจีวรของทายกทายิกา, คราว ที่เป็นฤดูถวายจีวร, จีวรกาล.จีวรกาล(ระยะ เวลาถวายผ้า) มีกำหนดตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ถ้าภิกษุได้ กรานกฐิน ก็เลื่อนไปถึงกลางเดือน ๔ และ เป็นเวลาที่ภิกษุเปลี่ยนไตรจีวรด้วย.
  19. จุลหสมหาหสกกฺกฏหชาตก : (นปุ.) ชาดกอัน บัณฑิตกำหนดแล้วด้วยหงส์น้อยและหงส์ ใหญ่และปู.
  20. เจโตปริยญาณ : นป. ญาณกำหนดรู้แห่งจิตใจ (ของผู้อื่น), ความรู้จักทายใจคน
  21. เจโตปริยาย : (ปุ.) การกำหนดใจ, การกำหนด วาระจิต (คือช่วงของความคิด).
  22. ฉายา : (อิต.) เค้า คือสิ่งที่เป็นเครื่องกำหนด หมายให้รู้ สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ว่ามีลักษณะ เหมือนสิ่งอื่น, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณที่ไม่ถูกแดดไม่ถูกฝน), รูป, รูป เปรียบ, แสงสว่าง, ฉายา คือ ชื่อที่พระ – อุปัชฌายะตั้งให้เป็นภาษามคธเมื่ออุปสม – บท. วิ. เฉติ สํสยนฺติ ฉายา. ฉา เฉทเน, โย. ฉินฺทติ ปริสฺสมนฺติ วา ฉายา. ไทยใช้ เรียกชื่อภาษาไทยที่ตั้งกันเล่นๆตามลักษ – ณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ เช่น เปี๊ยก ว่ามี ฉายาว่า นายเปี๊ยก นอกจากนี้ยังหมายถึง นางผู้โฉมงามหรือเมียอีกด้วย.
  23. เฉทนกปาจิตฺติยา : (อิต.) เฉทนกปาจิตตีย์ ชื่ออาบัติปาจิตตีย์ ที่ต้องให้ตัดของที่ทำ เกินกำหนด (ประมาณ) ออกเสียก่อนจึง แสดงอาบัติตก คือจึงจะพ้นจากอาบัติ.
  24. ญาตปริญฺญา : (อิต.) ธรรมชาติอันบุคคลพึง กำหนดรู้อันตนรู้แล้ว, การกำหนดรู้ด้วย ความรู้.
  25. ฏีกา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกำหนด, ฎีกา ชื่อ ของหนังสือที่อาจารย์แต่งแก้อรรถกถา บางทีแก้ทั้งบาลีด้วยจัดเป็นคัมภีร์ชั้นที่ สาม ชื่อของหนังสือที่เขียนนิมนต์พระสงฆ์ ชื่อของคำร้องทุกข์ที่ถวายพระเจ้า แผ่นดิน ชื่อของคำคัดค้านที่ยื่นต่อศาล สูงสุด ชื่อของศาลสำหรับตัดสินความชั้น สูงสุด. ฏิกฺ คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  26. ฐเปติ : ก. วาง, ตั้งไว้, หยุด, เว้น, กำหนดตั้ง, แต่งตั้ง, บรรจุ
  27. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  28. ตลสตฺติกสิกฺขาปท : (นปุ.) สิกขาบทอัน บัณฑิตกำหนดแล้วด้วยอันเงือดเงื้อซึ่ง หอกคือฝ่ามือ.
  29. ติตฺถิยปริวาส : (ปุ.) ติตฺถิยปริวาส ชื่อของ กรรมวิธีตรวจสอบเดียรถีย์ ผู้ที่จะมาบวช ในพุทธศาสนาว่าจะมีความเลื่อมใสแท้จริง หรือไม่ มีกำหนด ๔ เดือน ดูรายละเอียด ใน โตร. ๔ ข้อ ๑๐๐ วิธีนี้ควรจะเอามา ประยุกต์ใช้กับคนที่จะมาบวชในปัจจุบัน นี้บ้าง.
  30. ติลกฺขณ : (นปุ.) ลักษณะอันเป็นเครื่อง กำหนดสาม, ลักษณะสำหรับพิจารณา สาม, ลักษณะสาม, ไตรลักษณะ, ไตร- ลักษณ์ คือลักษณะที่เป็นสามัญทั่วไปแก่ สังขาร ทั้งหลายมี ๓ คือ อนิจฺจตา ทุกขฺตา อนตฺตตา. ส. ตฺริลกฺษณ ไตฺรลกฺษณฺ.
  31. ตีรณปริญฺญา : (อิต.) ความรอบรู้อันเกิดจาก การตรวจตรา, ความรอบรู้อันเกิดเพราะ ความตรวจตรา, ฯลฯ, ความกำหนดรู้ด้วย การตรวจตรา, ฯลฯ.
  32. ทสา : (อิต.) ชายผ้า, ชายครุย, ความเป็นอยู่, ความกำหนด, ระยะกาลของชีวิต. ทา เฉทเน, โส, รสฺโส, อิตฺถิยํ อา. ฉา เฉทเนวา, ฉสฺส โท. ส. ทศา.
  33. ทุกฺขปริชานนาทิกิจฺจ : (นปุ.) กิจมีอัน กำหนดรู้ซึ่งทุกข์เป็นต้น. เป็นวิเสสนบุพ. กัม. มี ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นภายใน.
  34. ทุพฺภิกฺขนฺตรกปฺป : (ปุ.) กัปของระหว่างมี ภิษาอัน...ได้โดยยาก. ทุพภิกขันตรกัป คือระยะเวลาที่กำหนดไว้ว่าเป็นตอนที่ ขาดแคลนอาหาร.
  35. ทุวงฺคุลกปฺป : ป. การถือว่าสองนิ้วควรได้แก่การกำหนดเวลาอาหารยืดออกไปจนถึงตะวันบ่ายเงายาวสองนิ้ว
  36. ธมฺมฐติ : (อิต.) ความตั้งอยู่แห่งธรรม, ความตั้งอยู่แห่งปัจจัย, ธรรมฐติ ชื่อของปัญญาในการกำหนดปัจจัย. ไตร. ๓๑/๗๒.
  37. ธมฺมูโปสถ : ป. ธรรมอุโบสถ, วันที่กำหนดรักษาอุโบสถโดยพิจารณาถึงธรรม
  38. ธาตุสณฺณา : (อิต.) ความสำคัญว่าธาตุ, ความรู้ว่าธาตุ, ความหมายรู้ว่าธาตุ, ความกำหนดว่าธาตุ.
  39. นวคุณ : (ปุ.) ทองมีลำดับเก้า, ทองเนื้อเก้า, ทองนพคุณ, นพคุณ ชื่อทองบริสุทธิ์ โบราณกำหนดตามคุณภาพของเนื้อทอง หนัก ๑ บาท ราคา ๙ บาท (ค่าของเงิน สมัยก่อน) เรียกว่าทองนพคุณ.
  40. นิติปุคฺคล : (ปุ.) บุคคลโดยกฎหมาย, บุคคล ตามกฎหมาย, นิติบุคคล. ไทย นิติบุคคล หมายถึงองค์การหรือคณะบุคคล ซึ่ง กฎหมายสมมุติให้เป็นบุคคลมีสิทธิและ หน้าที่ที่กำหนดไว้ตามกฎหมาย.
  41. นิติภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลตาม กฎหมาย, ภาวะตามกฎหมาย, นิติภาวะ. ไทย นิติภาวะคือ ความเป็นผู้มีอายุตามที่ กฎหมายกำหนดไว้ให้มีความสามารถ เต็มที่ตามกฎหมาย.
  42. นิยม : (ปุ.) การกำหนด, การหมายไว้, การจำ ศีล, ความกำหนด, ความแน่นอน, ความพร้อมกัน, ความประพฤติ, ความชอบ, ความนับถือ, วัตร, พรต, พรตที่ประพฤติ ตามกาล. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, อ. คำนิยม ไทยใช้เป็นกิริยา ในความหมายว่า ชมชอบ ชื่นชม ยินดี ยอมรับ นับถือ. ส. นิยม.
  43. นิยมน : (นปุ.) การกำหนด, การห้ามไว้, การทำให้ถูกต้องตามแบบ. อุ ปัจ.
  44. นิยมิต : ค. ซึ่งกำหนด, ซึ่งกำจัด
  45. นิยเมติ : ก. กำหนด, จำกัด, บังคับ, แสดงความหมาย
  46. นิยาม : (ปุ.) การกำหนด, ความกำหนด, เหตุ เป็นเครื่องกำหนด, ทาง, หนทาง, มรรค, แบบ, อย่าง, วิธี, ทำนอง. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, โณ. ไทยใช้นิยามเป็นกิริยาใน ความหมายว่า กำหนดหรือจำกัดความหมายที่แน่นอน หรือให้ความหมายอย่าง กะทัดรัด.
  47. นิยาเมติ : ก. กำหนด, จำกัด, บังคับ, ปกครอง, แนะนำ
  48. ปฏิกูลสญฺญา : อิต. ปฏิกูลสัญญา, ความสำคัญว่าเป็นของปฏิกูล, ความกำหนดหมายว่าเป็นของน่ารังเกียจ
  49. ปฏิกูลสญฺญี : ค. ผู้กำหนดหมายว่าเป็นของปฏิกูล
  50. ปฐวีสญฺญา : อิต. ความกำหนดหมายว่าเป็นดิน
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-192

(0.0184 sec)