สตี : อิต. หญิงผู้ซื่อสัตย์ต่อสามี, หญิงผู้บริสุทธิ์
สนฺตติ : อิต. ความสืบต่อ, ความสืบเนื่อง, ความสืบตระกูล
สนฺธ : (ปุ.) การต่อ, การเชื่อม, สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ,อ.
สนฺธาน : (นปุ.) การต่อ, การเชื่อม, การเกี่ยวข้อง, การพัวพัน, การสืบต่อ, ที่ต่อ, สันธาน ชื่อของคำที่เชื่อมประโยคให้เกี่ยวเนื่องกัน. ยุ ปัจ.
สนฺธิ : (วิ.) อัน...ต่อ, อันเขาต่อ. วิ. สนฺธียตีติ สนฺธิ. อิ ปัจ.
สนฺธิจฺเฉท : (วิ.) ผู้ตัดซึ่งที่ต่อ, ฯลฯ, ผู้ตัดช่อง, ผู้ตัดช่องย่องเบา, ผู้ขุดอุโมงค์.
สนฺธิสญฺญา : (อิต.) สัญญาติดต่อกัน, สนธิ สัญญา คือสัญญาติดต่อกันระหว่างรัฐต่อรัฐ.
สมฺปยาต : กิต.ไปข้างหน้า, เดินต่อไป
สมฺมุขา : (อัพ. นิบาต) ต่อหน้า, แจ้ง, ชัด, พร้อมหน้า, ในที่พร้อมหน้า, ในที่เฉพาะหน้า. นิบาตลงในอรรถสัตมี. รูปฯ ๒๘๒.
สลฺลาป : (ปุ.) การกล่าวกับ, การกล่าวด้วยดี, การกล่าวด้วยดีต่อกัน, การพูดจากัน, การสนทนา, การเจรจาปราศรัย, คำอ่อนหวาน. วิโรธรหิตํ วจนํ สลฺลาโป. สํปุพฺโพ, ลปฺ วาเ กฺย, โณ.
สฬายตน : (นปุ.) เครื่องต่ออารมณ์ ๖ อย่าง, ที่เป็นต่อ ๖, ที่เป็นที่มาต่อ ๖, เครื่องติดต่อ ๖ อย่าง, อายตนะ ๖. ฉ+อายตน แปลง ฉ เป็น ส ฬฺ อาคม รูปฯ ๓๓๔.
สิกฺขากาม : กิต. ผู้ใคร่ต่อการศึกษา
สุจริต : (นปุ.) ความประพฤติดี, ความสุจริต. วิ. สุนฺทรํ จริตํ สุจริตํ. บุญ, กุศล, สุจริต. ไทย สุจริต ว่าประพฤติตรงต่อหน้าที่.
โสตายตน : (นปุ.) ที่เป็นต่อคือ หู, เครื่องติดต่อคือหู, อายตนะคือหู ประสาทหู (หมายเอาประสาทรับรู้เสียง).
อกรณียกิจฺจ : (นปุ.) กิจอัน....ไม่พึงทำ, กิจอัน....ไม่ควรทำ, อกรณียกิจ.กิจอันบรรพชิตไม่ควรทำ (ทำไม่ได้) มี๔ อย่าง.ความเป็นจริงกิจที่บรรพชิตไม่ควรทำทั้งสิ้น ชื่ออกรณียกิจ ที่ท่านยกขึ้นกล่าวเพียง ๔ อย่างนั้นกล่าวเฉพาะข้อที่สำคัญซึ่งล่อแหลมต่อการขาดจากความเป็นบรรพชิตและเพื่อให้เหมาะแก่เวลาเมื่ออุปสมบทเสร็จ.อกรณียกิจของคนทั่วไปได้แก่ กายทุจริต วจีทุจริต และมโนทุจริต.
อจฺจนฺตสโยค : (ปุ.) การประกอบต่อเนื่องกันวิ. อจฺจนตํ นิรนฺตรํ สํโยโค อจฺจนฺตสํโยโค.
อฏฏ : (นปุ.) อฎฎะ ชื่อมาตรานับต่อจาก อพพะเลข ๑ มีสูญ ๒๘ สูญ.อฎฺ คติยํ. โฎ.
อถ, อโถ : อ. ครั้งนั้น, ลำดับนั้น, ต่อไป, เช่นกัน
อธิวาสนขนฺติ : (อิต.) ความอดทนด้วยอันรับ, ความอดทนด้วยความอดกลั้น, ความอดทนอย่างยิ่งยวด, อธิวาสนขันติชื่อความอดทนอย่างสูงคือความอดทนต่อความกระทบกระทั่งของคนที่ด้อยกว่าจะเป็นทางใดก็ตามด้วยการลดทิฐิมานะของตนลงเสีย.
อนฺตริก : ค. มีอยู่ในระหว่าง, ต่อไป, ถัดไป
อนนฺตร : ก. วิ. ต่อมา, ถัดมา, หลังจากนั้น
อนนุคิทฺธ : (วิ.) มิได้กำหนัดยินดีต่อบุคคลผู้นำสักการะมาบูชาตน, มิได้กำหนัดยินดี.
อนภาว : ป. ความไม่มีต่อไป, ความสุดลงเด็ดขาด
อนฺวทฺธมาส, อนฺวฑฺฒมาส : ก.วิ. สองครั้งต่อเดือน; ทุกครึ่งเดือน
อนุปฏิปาฏิ, - ติ : อิต. ลำดับ, ความสืบต่อ
อนุปฺปพนฺธ : ป. การสืบต่อ, การสืบเนื่องกัน, โดยลำดับ
อนุปพนฺธติ : ก. สืบต่อ, ติดตาม, สืบเนื่อง
อนุปพนฺธนตา : อิต. ความสืบต่อ, ความเป็นไปโดยไม่ขาดระยะ
อนุปพนฺธนา : อิต. ความสืบต่อ, ความเป็นไปโดยไม่ขาดระยะ
อนุปวตฺตก : ค. ผู้ให้เป็นไป, ผู้สืบต่อ
อนุปวตฺเตติ : ก. ให้เป็นไป ; ให้ดำรงอยู่, ให้สืบต่อ
อนุปุพฺพ : ก. วิ. โดยลำดับ, โดยการสืบต่อ
อนุปุพฺพตา : อิต. ความเป็นลำดับ, ความสืบต่อ
อนุสนฺธิ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องต่อตาม, กถาเป็นเครื่องต่อตาม, ความต่อตาม, การต่อเนื่อง, การสืบเนื่อง, การต่อตามลำดับ, การติดต่อ, การต่อ.อนุสํบทหน้าธาธาตุอิปัจ.ส.อนุสํธิ.
อโนตฺตปฺป : นป. ความไม่เกรงกลัวต่อบาป
อโนตฺตปฺปี : ค. ผู้ไม่เกรงกลัวต่อบาป
อโนตปฺปอโนตฺตปฺป : (นปุ.) ความไม่เกรงกลัว, ความไม่สะดุ้ง, ความไม่สะดุ้งกลัวต่อบาปทุจจริต.วิ. น โอตฺตปฺปตีติอโนตฺตปฺปํ.วิปัสสนาทีปนีฏีกา.
อโนตปฺป อโนตฺตปฺป : (นปุ.) ความไม่เกรงกลัว, ความไม่สะดุ้ง, ความไม่สะดุ้งกลัวต่อบาป ทุจจริต. วิ. น โอตฺตปฺปตีติ อโนตฺตปฺปํ. วิปัสสนาทีปนีฏีกา.
อปฺปวตฺตา : อิต. ความไม่เป็นไป, ความไม่มีต่อไป
อปร : (วิ.) อื่น, อีกอีก (ส่วนอนาคต), ตรงกันข้าม, ต่าง ๆ, ทีหลัง, ต่อมา.ส.อปร.
อปรนฺตาปริย : ค. ตามไปไม่มีที่สุด, สืบต่อ
อปราปรเจตนา : (อิต.) เจตนาอื่นและเจตนาอื่น, เจตนาอื่น ๆ, อปราปรเจตนาคือ เจตนาที่เกิดสืบ ๆ ต่อจากเจตนาขณะบริจาคดูมุญฺจนเจตนาด้วย.
อปราปรเวทนียกมฺม : (นปุ.) กรรมให้ผลในภพสืบ ๆคือให้ผลในภพต่อไปจากชาติหน้า.
อปราปริย : ค. ติดตามไปไม่สิ้นสุด, สืบต่อ
อพฺภุฏฺฐาติ : ก. ลุกขึ้น, ก้าวต่อไป
อพฺภุฏฺฐาน : นป. การลุกขึ้น, การก้าวต่อไป
อวภต : กิต. นำมาแล้ว, ถือไปแล้ว, ถูกนำสืบต่อกันมาแล้ว
อสิลิฏฺฐ : ค. ไม่สืบต่อ, ไม่สืบเนื่อง
อโหสิกมฺม : (นปุ.) อโหสิกรรมคือกรรมที่ต่างฝ่ายต่างเลิกแล้วต่อกันการไม่เอาบาปกรรมแก่กัน, กรรมที่ไม่ให้ผล.วิ.อโหสิกํกมฺมํอโหสิกมฺมํ.ลบกสกัด.
อามนฺตน : (นปุ.) การเรียก, การร้องเรียก, การเชิญ, การเชื้อเชิญ, การบอกโดยการทำต่อหน้า, การบอกต่อหน้า.วิ.อภิมุขํกตฺวามนฺตนํอามนฺตนํ.ลบภิมุขเหลืออแล้วทีฆะ.