Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ประพฤติ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ประพฤติ, 203 found, display 101-150
  1. ปริจริยา : (อิต.) การบำเรอ, ฯลฯ. อิย ปัจ. ความประพฤติ. จรฺ จรเณ.
  2. ปริจิณฺณ : กิต. ประพฤติรอบคอบแล้ว, สะสมแล้ว, ตั้งใจแล้ว, เคยชินแล้ว
  3. ปริจินาติ : ก. ประพฤติรอบคอบ, สะสม, ตั้งใจ, เคยชิน
  4. ปารทาริก : ป. ผู้ล่วงกาม, ผู้ประพฤติผิดในกาม, ผู้ล่วงประเวณีในเมียของคนอื่น
  5. ปุตฺติยติ : ก. ประพฤติเป็นเพียงดังว่าบุตร
  6. ปุพฺพงจริต : นป. ความประพฤติอันมีมาก่อน, เรื่องราวที่ล่วงมาแล้ว
  7. ปุพฺพจริต : (วิ.) อัน...ประพฤติแล้วในก่อน, อัน...ประ พฤติแล้วในกาลก่อน,ฯลฯ,
  8. พฺรหฺมจริย : (นปุ.) ความประพฤติซึ่งธรรมอันประเสริฐ, ความประพฤติประเสริฐ, ความประพฤติเพียงดังพรหม, ความประพฤติเหมือนพรหม, ความหนักแน่น, ความตั้ง ใจมั่น, ทาน, อัปปมัญญา, สาสนะ, พรหมจรรย์ (การถือบวช การถือพรตเว้นเมถุนธรรม). ความสิ้นราคะ โทสะและโมหะ เป็นที่สุดของพรหมจรรย์ ไตร. ๑๙/๓๐/๙.
  9. พฺรหฺมจริยา : อิต. การประพฤติพรหมจรรย์
  10. พฺรหฺมจาริณี พรหฺมจารี : (อิต.) หญิงผู้ประพฤติประเสริฐ, หญิงผู้ประพฤติเหมือนพรหม, หญิงพรหมจารี. พรหมจาริณี พรหมจารี ไทยใช้หมายถึงหญิงที่ยังบริสุทธิ์เรื่องเพศ.
  11. พฺรหฺมจารี : (วิ.) ผู้ประพฤติซึ่งธรรมอันประเสริฐ. วิ. พฺรหฺมํ จรตีติ พฺรหฺมจารี. ณี ปัจ. ผู้ประพฤติพรหมจรรย์ วิ. พฺรหฺมจริยํ จรตีติ พฺรหฺมจารี. ผู้ประพฤติพรหมจรรย์โดยปกติ, ฯลฯ. คำแปลและ วิ. อีก ดู ธมฺมจารี เทียบ.
  12. พฺรหฺมญฺญตา : (อิต.) ความปฏิบัติเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่พรหม, ความประพฤติเกื้อกูลแก่พรหม. ตา ปัจ. สกัด.
  13. ภิกฺขาจริยา : (อิต.) ความประพฤติในอันขอ, การเที่ยวขอ.
  14. มโนทุจฺจริต : (นปุ.) กรรมอันบุคคลประพฤติชั่วแล้วด้วยใจ, การประพฤติชั่วด้วยใจ, ความประพฤติชั่วด้วยใจ, ความประพฤติชั่วทางใจ.
  15. มโนสมาจาร : (ปุ.) ความประพฤติชอบด้วยใจ, ความประพฤติชอบทางใจ.
  16. มโนสสุจริต : (ปุ.) กรรมอันบุคคลประพฤติดีแล้วด้วยใจ, ฯลฯ. ดู มโนทุจฺจริต เทียบ.
  17. มานตฺต : (นปุ.) มานัด ชื่อของการประพฤติวัตรเนื่องด้วยการนับราตรี.
  18. มิจฺฉาจาร : (ปุ.) ความประพฤติผิด. วิ. มิจฺฉาจรณํ มิจฺฉาจาโร. มิจฺฉา วา จาโร มิจฺฉาจาโร.
  19. มิจฺฉาจารี : ป. ผู้ประพฤติผิด
  20. มูควตฺต : (นปุ.) ความประพฤติใบ้, ความประพฤติเป็นคนใบ้, มูควัตร ชื่อวัตรของเดียรถีอย่างหนึ่ง คือ ประพฤติเป็นคนใบ้ไม่พูดจากัน.
  21. เมถุน : (นปุ.) ความประพฤติของคนคู่ คือ หญิงและชายผู้มีความพอใจเสมอกัน, อัชฌาจารของคนคู่กัน, ความยินดีของคนคู่กัน, การร่วมสังวาส. วิ. มิถุนานํ อิตฺถีปุริสานํ สมานฉนฺทานํ อาจาโร เมถุนํ. ณ ปัจ.
  22. เมถุนธมฺม : (ปุ. นปุ) เรื่องความประพฤติของหญิงและชายผู้มีความพอใจเสมอกัน, เรื่องของคนคู่กัน, ประเพณีของชาวบ้าน, เรื่องของชาวบ้าน, ธรรมของอสัตบุรุษ, เมถุนธรรม (เรื่องของคนเป็นคู่ๆ พึงประพฤติ). วิ. เมถุนํ เอว ธมฺโม เมถุนธมฺโม.
  23. ยทิจฺฉา : (อิต.) ความปรารถนาอย่างไร, ความประสงค์อย่างไร, ความประพฤติตามอำเภอใจ. วิ. ยา ยา อิจฺฉา อธิปฺปาโย ยทิจฺฉา.
  24. วจีทุจฺจริต : นป. ความประพฤติชั่วทางวาจา
  25. วจีสุจริต : นป. วจีสุจริต, การประพฤติชอบทางวาจา
  26. วุตฺติ : อิต. ความเป็นไป, ความประพฤติ, การเลี้ยงชีพ
  27. สญฺจารณ : นป. การให้เที่ยวไป, การให้ประพฤติ
  28. สพฺรหฺมจารี : (ปุ.) บุคคลผู้มีปกติประพฤติซึ่งธรรมอันประเสริฐเสมอกัน.
  29. สภาควุตฺตี : ค. ความประพฤติเสมอกัน
  30. สมจริยา : (อิต.) ความประพฤติเรียบร้อย.
  31. สมจารี : (วิ.) ผู้ประพฤติสม่ำเสมอ, ผู้ประพฤติสม่ำเสมอโดยปกติ, ฯลฯ.
  32. สมณธมฺม : (ปุ.) ธรรมของสรณะ. ธรรมอันสมณะพึงประพฤติ, สมณธรรม(ข้อปฏิบัติของพระ).
  33. สมฺมาวตฺตนา : (อิต.) การเป็นไปโดยชอบ, ความเป็นไปโดยชอบ, การประพฤติชอบ, ความประพฤติชอบ.
  34. สมาจรณ : นป., สมาจาร ป. ความประพฤติชอบ
  35. สมาจรติ : ก. ประพฤติชอบ
  36. สมาจาร : (ปุ.) มารยาทอันบุคคลพึงประพฤติโดยเอื้อเฟื้อด้วยดี, มารยาทอันบุคคลพึงประพฤติโดยเอื้อเฟื้อสม่ำเสมอ, ความประพฤติดี, ความประพฤติที่ดี, ความประพฤติชอบ, มารยาทดี, มารยาทที่ดี, มารยาทเรียบร้อย. ส. สมาจาร.
  37. สมุทาจรณ : นป. ความประพฤติ
  38. สหธมฺมิก : (วิ.) ผู้มีธรรมร่วมกัน, ผู้ประพฤติธรรมร่วมกัน, ผู้ที่เกี่ยวข้องโดยธรรม.
  39. สามญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เกื้อกูลแก่สมณะ, ความประพฤติเกื้อกูลแก่สมณะ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้เสมอกัน.
  40. สุจริต : (นปุ.) ความประพฤติดี, ความสุจริต. วิ. สุนฺทรํ จริตํ สุจริตํ. บุญ, กุศล, สุจริต. ไทย สุจริต ว่าประพฤติตรงต่อหน้าที่.
  41. สุชน : (ปุ.) คนดี, คนประพฤติดี.
  42. สุพฺพต : (วิ.) มีวัตรอันดี, มีวัตรอันงาม, มีวัตรดี, ประพฤติดี.
  43. เสริจารี : ป. ผู้ประพฤติตามความพอใจตน
  44. เสริตา : อิต. ความเป็นผู้ประพฤติตามความพอใจตน
  45. อคติ : (อิต.) ธรรมชาติมิใช่เป็นที่ไปแห่งพระอริยเจ้า, ธรรมชาติมิใช่เครื่องไปแห่งพระอริยเจ้า, ภูมิมิใช่เป็นที่ไปแห่งพระอริยเจ้า, ภูมิมิใช่เป็นที่ไปแห่งท่านผู้รู้, กิริยาที่ไม่ควรถึง, กิริยาที่ไม่ควรประพฤติ, คติไม่ควร.นปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, ติ, มฺโลโป.ความลำเอียง. อคฺ กุฏิลคติยั, ติ. ส. อคติ.
  46. อจริ : ก. ได้เที่ยวไปแล้ว, ได้ประพฤติแล้ว
  47. อชฺฌาจรติ : ก. ประพฤติผิด, ละเมิด
  48. อชฺฌาจาร : (ปุ.) ความประพฤติล่วง, ความประพฤติล่วงมารยาท, ความล่วง (หมายเอาเมถุน), อัชฌาจารอัธยาจาร(การละเมิดประเพณีการเสพเมถุนความประพฤติชั่วความประพฤติละเมิดพระวินัย)ฏีกา ฯแก้เป็นมริยาทาติกฺกมการล่วงละเมิดมารยาท.
  49. อติจริยา : (อิต.) ความประพฤติล่วง, ความประพฤตินอกใจ.
  50. อติจาร : ป. การล่วงละเมิด, การประพฤติผิด
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-200 | 201-203

(0.0226 sec)