Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ครองเมือง, เมือง, ครอง , then ครอง, ครองเมือง, ครองา, มอง, เมือง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ครองเมือง, 216 found, display 151-200
  1. อวรปุร : นป. ทิศตะวันตกของเมือง
  2. อสฺสก : (นปุ.) อัสสกะชื่อแคว้นในอินเดียโบราณ เมืองหลวงชื่อโปตนะ.
  3. อสามิก : ค. ไม่มีเจ้าของ, ไม่มีผู้ครอง
  4. อฬกา : (อิต.) อฬกาชื่อเมืองกุเวรวิ.อลํ วิภูสนํกโรตีติอลกา.สาเอวอฬกา.เป็นอาฬกาบ้าง.
  5. อาคาริก : (ปุ.) คนผู้ประกอบในเรือน, คนอยู่ในเรือน, คนครองเรือน, คฤหัสถ์. อคาร+ณิกปัจ.แปลงกเป็นยเป็นอาคาริยบ้าง.
  6. อาคาริยสีล : (นปุ.) ศีลของคนครองเรือน.
  7. อาณาจกฺก : (นปุ.) จักรคืออำนาจ, เขตแดนของอำนาจ, อาณาจักร (เขตแดนที่อยู่ในอำนาจปกครองของรัฐบาลหนึ่ง ๆ อำนาจปกครองของปกครองของบ้านเมือง).ส. อาชฺญาจกฺร
  8. อาณาปก : ๑. นป. คนออกระเบียบข้อบังคับประจำเมือง ; ๒. ค. ผู้สั่ง, ผู้บังคับ, ผู้ออกระเบียบ
  9. อาณาปชารฏฺฐ : (ปุ.) ราษฏรชาวเมืองผู้อยู่ในอำ-นาจปกครอง, ราษฏรชาวเมืองซึ่งอยู่ในอำ-นาจปกครอง, อาณาประชาราษฏร์.
  10. อายตน : (นปุ.) ที่เป็นที่มาร่วมกัน, ที่เป็นที่มาประชุมกัน, ที่เป็นที่มาพร้อมกัน, ที่ประชุม, ที่เป็นที่ต่อ, ที่เป็นที่มาต่อ, แดนติดต่อกัน, เทวาลัย, ที่อยู่, ประเทศที่เกิด, บ้านเกิดเมืองนอน, บ่อ, บ่อเกิด, อากร, เหตุ, หมู่, ฝูง, ปทปูรณะ ( การทำบทให้เต็มให้สละสลวย), ลัทธิอุ.ติตฺถายตนํลัทธิเดียรถีย์.อาปุพฺโพตนุวิตฺถาเร, อ.อถวา, อาปุพฺโพ, ยตฺปยตเน, ยุ.ส. อายตน.
  11. อายุตฺตก : (ปุ.) บุคคลผู้เรียกเก็บซึ่งส่วย, นายส่วย( ส่วยคือของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงอีกอย่างหนึ่งคือ เงินที่เก็บจากชายซึ่งมิได้รับราชการเป็นทหารเงินรัชชูป-การก็เรียกปัจจุบันเลิกเก็บแล้ว ), เสมียน, เจ้าพนักงาน, เจ้าหน้าที่.อาปุพฺโพ, อุจฺสมวาเย, โต.แปลงจฺเป็นตฺ กสกัดคำแปลหลังอายุตฺตลงกสกัด.ส. อายุกฺตก.
  12. อารกฺขอารกฺขณ : (นปุ.) การป้องกัน, การดูแล, การรักษา, การคุ้มครอง, อารักขา.ขออารักขาคือขอให้ฝ่ายบ้านเมืองมาช่วยคุ้มครองป้องกันภัยอันตราย.อาปุพฺโพ, รกฺขฺปาลเนอ, ยุ.ส.อารกฺษ.
  13. อาลกมนฺทา : อิต. เมืองของท้าวกุเวร
  14. อาลกาอาลกมนฺทา : (อิต.) อาลกมันทาชื่อเมืองกุเวร.วิ.อลํวิภูสนํกโรตีติอลกา.อลกาเอวอาลกา. อาลกาเอว โมทกรณโตอาลกมนฺทาเป็นอาลกมณฺฑาก็มี.
  15. อาวาส : (วิ.) เป็นที่อยู่, เป็นที่อาศัย, เป็นที่ อยู่อาศัย, เป็นที่อบรม, ครอบครอง, อยู่ ครอบครอง.
  16. อาสาฬฺหปูชา : (อิต.) การบูชาในเดือนแปด วิ. อาสาฬฺหสฺมึ ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาในวันกลางเดือนแปด วิ. อาสาฬฺห- ปุณฺณมาย ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาเพื่อระลึกถึงเหตุพิเศษ (สำคัญ) ของ พระพุทธศาสนาอันเกิดขึ้นในวันกลาง เดือนแปด. วิ. อาสาฬฺหปุณฺณมาย อุปฺปนฺนสฺส พุทฺธสาสนวิเสสการณสฺส อนุสฺสรณสฺส ปูชา อาสาฬฺหปูชา. วัน อาสาฬหบูชา เป็นวันสำคัญของชาวพุทธ มีการทำบุญตักบาตร ฟังเทศน์และเวียน เทียน เดินปทักษิณปูชนียวัตถุ ปูชนียสถาน สามรอบ ตรงกับวันกลางเดือน ๘ ถ้าปีใด มีอธิกามาส ก็ตรงกับวันกลางเดือน ๘ หลัง มีความสำคัญคือ เป็นวันที่พระพุทธองค์ ทรงแสดงปฐมเทศนา คือธัมมจักกัปป- วัตตนสูตร โปรดพระปัญจวัคคีย์ ที่ป่าอิสิป ตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี นับ แต่ตรัสรู้แล้วได้ ๖๐ วัน เป็นวันที่จักร (ล้อ) คือธรรมได้หมุนไปในโลก เป็นวันที่ พระอริยสงฆ์เกิดขึ้นเป็นองค์แรกเป็นวันที่ รัตนะมีครบ ๓ เป็นพระรัตนตรัย.
  17. อาฬกมนฺทา : อิต. เมืองท้าวกุเวร
  18. อุคฺคตฺถน : (นปุ.) เครื่องประดับทรวง. วิ. คาวีนํ ถนาการตฺตา คตฺถนํ. โอสฺสตฺตํ (แปลง โอ แห่ง โค ศัพท์ เป็น อ). ต เมว อุตฺตมตฺตา อุคฺคตฺถนํ. แปลว่า เครื่อง ประดับหน้า, เครื่องประดับหน้าผาก, เครื่องประดับไหล่ บ้าง.
  19. อุชฺเชนี : อิต. ชื่อเมืองในอินเดีย
  20. อุณฺณามย : (ปุ.) เครื่องลาดเป็นวิการแห่ง ขนสัตว์, เครื่องลาดทำด้วยขนสัตว์, เครื่อง ลาดแล้วด้วยขนสัตว์. อุณฺณาโลม
  21. อุทสฺสเย : ก. ให้ครอง, ให้ดำรง
  22. อุปนคร : (นปุ.) ที่ใกล้เมือง. อุป (สมีป)+นคร.
  23. อุปาทินฺนกรูป : (นปุ.) รูปมีวิญญาณครอง, รูปมีใจครอง.
  24. โอชทีป : ป. ประเทศลังกา, เมืองสิงหฬ
  25. กมฺมชรูป กมฺมชฺชรูป : (นปุ.) รูปอันเกิดแต่ กรรม, กัมมชรูป กัมมัชชรูป คือรูปที่ กรรมสร้าง มองด้วยตาเนื้อไม่เห็น เกิด พร้อมกับปฏิสนธิจิต เพราะจิตยังอาศัยรูป นี้อยู่ และเกิดดับเป็นสันตติ จนถึงจุติจิต (มรณสันนวิถี). ส. กรฺมชรูป.
  26. โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
  27. จกฺขุปสาท : (ปุ.) ประสาทของตา, จักษุประสาท คือเส้นสำหรับนำความรู้สึกของตา ส่วน สำคัญของตาที่ทำให้มองเห็น.
  28. ฉิทฺทคเวสี : ค. ผู้เพ่งโทษคนอื่น, ผู้คอยจับผิดผู้อื่น, ผู้คอยมองหาจุดอ่อนผู้อื่น
  29. ทสฺสนีย, - เนยฺย : ค. ซึ่งควรมองดู, ซึ่งควรแก่การเห็น, น่าดู, น่าชม, สวย, งาม
  30. ทิฏฺฐินิปาต : ป. การลงความเห็น, การเหลือบมอง
  31. นิลฺโลกน : ค. ผู้เฝ้ามอง, ผู้ระมัดระวัง
  32. นิลฺโลเกติ : ก. เฝ้ามอง, ระมัดระวัง
  33. ปฏิกฺขติ : ก. เพ่งเฉพาะ, มองดู, คาดหมาย
  34. ปฏิโยโลเกติ : ก. มอง, จ้อง, สังเกต
  35. ปวิโลเกติ : ก. เหลียวดู, จ้องดู, มองไปข้างหน้า
  36. ปสฺสติ : ก. เห็น, มองเห็น, ดู
  37. ปาตุ : อ. ข้างหน้า, ปรากฏ, พอมองเห็นได้
  38. ปิยจกฺขุ : นป. การมองกันด้วยสายตาอันน่ารัก, การมองด้วยสายตาแสดงไมตรีจิต
  39. ผณิชฺชก : (ปุ.) เฉียงพร้ามอญ ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง กิ่ง ใบ และต้นสีม่วงดำ ใช้ทำยา เฉียงพร้ามอง ก็เรียก. วิ. ผณึ ชยตีติ ผณิชฺชโก. ผณีปุพฺโพ, ชี ชเย, อ. แปลง อี เป็น เอ เอ เป็น อย แปลง ย เป็น ก เป็น ผณิชฺฌก โดยแปลง ชฺ เป็น ฌฺ บ้าง. ผักคราด ตะไคร้ แมงลัก ก็ว่า.
  40. พาหิราภิมุข : ค. ผู้มีหน้าเฉพาะต่อสิ่งที่มีในภายนอก, ผู้มุ่งหน้าสู่ภายนอก, ผู้มองไปข้างนอก
  41. มุขลฺโลกก : ค. ซึ่งมองดูหน้าคน
  42. มุโขโลกน : นป. การมองดูหน้า, การเห็นแก่หน้า
  43. ยุคมตฺตทสฺสิตา : (อิต.) ความที่แห่งตนเป็นผู้มีปกติแลดูตลอดที่มีแอกหนึ่งเป็นประมาณ, ความเป็นผู้มีสายตาทอดไปข้างหนึ่งชั่วแอก เป็นกิริยาสำรวมของภิกษุไม่มองล็อกแล็กไปทางโน้นทางนี้.
  44. วิเวเจติ : ก. แยกออก, มองเห็นข้อแตกต่าง, ติ, วิพากษ์
  45. โวโลเกติ : ก. สอบดู, มองดู
  46. สมีรณ : (ปุ.) เฉียงพร้ามอง, เฉียงพร้ามาญ, ผัดคราด, ตะไคร้, แมงลัก.
  47. สาเปกฺข : (วิ.) เป็นไปด้วยการมองหา.
  48. อตฺถทสฺสี : (วิ.) ผู้มองเห็นซึ่งประโยชน์, ผู้มองเห็นประโยชน์, ฯลฯ.
  49. อตีรทสฺสี : ค. ซึ่งมองไม่เห็นฝั่ง
  50. อทิสฺสมาน : ค. ไม่ปรากฏ, ซึ่งมองไม่เห็น
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-216

(0.0432 sec)