Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ครั้งก่อน, ครั้ง, ก่อน , then กอน, ก่อน, ครง, ครงกอน, ครั้ง, ครั้งก่อน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ครั้งก่อน, 218 found, display 151-200
  1. ภาตุ : (วิ.) ผู้เป็นพี่น้องชายกัน, ฯลฯ. วิ. ภาตีติ ภาตา. ภาสฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, ราตุ. ลบ สฺ ลบ รา. ผู้พูดก่อน (พี่ชาย) วิ. ปุพฺเพภาสตีติ ภาตา.
  2. ภูตปุพฺพ : (วิ.) เป็นแล้วในก่อน, เคยเป็นแล้ว, เคยมีแล้ว, เคยมีมาแล้ว.
  3. มโนปุพฺพงฺคม : (วิ.) มีใจเป็นสภาพถึงก่อน, มีใจเป็นธรรมถึงก่อน, มีใจเป็นหัวหน้า, มีใจเป็นประธาน. วิ. อุปฺปาทปฺปจฺจยตฺเถนมโน ปุพฺพงฺคโม เอเตสนฺติ มโนปุพฺพงฺคมา (ธมฺมา). คำว่า ธรรม ท. ได้แก่ เวทนขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์.
  4. มหากจฺจายน : (ปุ.) พระมหากัจจายนะ ชื่อ พระเถระครั้งพุทธกาลองค์หนึ่ง ซึ่งเป็นเอตทัคคะในการบรรยายธรรมให้พิสดาร.
  5. มหาสมย : (ปุ.) ครั้งใหญ่, คราวใหญ่, ครวาประชุมใหญ่, มหาสมัย.
  6. มาฆบูชา : (อิต.) การบูชาในวันเพ็ญเดือน ๓, การบูชาด้วยปรารภเหตุสำคัญของพุทธศาสนาซึ่งเกิดขึ้นในวันเพ็ญเดือนมาฆะ ถ้าปีใดมีอธิกมาสจะเลื่อนไปทำการบูชาเพ็ญกลางเดือน ๔ วันมาฆบูชามีความสำคัญ ดังนี้ – ๑.  เพราะตรงกับวันจาตุรงคสันนิบาต (ดูคำจตุรงฺคสนฺนิปาต ด้วย). พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ภายหลังจากตรัสรู้ได้ ๙ เดือน และ ๒. เพราะตรงกับวันปลงพระชนมายุสังขารในพรรรษาสุดท้าย ก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพาน ๓ เดือน.วันมาฆบูชา เป็นวันพระสงฆ์.
  7. มาสปุพฺพ : (วิ.) ก่อนด้วยเดือน.
  8. ยถาปุร : (นปุ.) เหมือนในกาลก่อน.
  9. ยมกปาฏิหาริย : (นปุ.) ปาฏิ หาริย์เป็นคู่, ปาฏิหาริย์ที่ทรงแสดงปราบเดียรถีย์ มีครั้งเดียวเท่านั้น.
  10. ยาคู : (ปุ.) ยาคู ชื่อตำแหน่งสมณศักดิ์พื้นบ้านของภาคอีสาน ชาวอีสานมีประเพณีแต่งตั้งภิกษุที่เป็นกำลังของศาสนาด้วยการสรงน้ำ สรงครั้งแรกได้รับสมญาว่า ยาซา สรงครั้งที่สองได้รับสมญาว่า ยาคู. ยชฺ เทวปูชายํ, อู. แปลง ช เป็น ค ทีฆะต้นธาตุ.
  11. ยาวกาลิก : (นปุ.) ของเป็นยาวกาลิก คือของที่ภิกษุรับประเคนได้เฉพาะเวลาเช้าถึงก่อนเที่ยง และฉันได้เช้าชั่วเที่ยงเท่านั้น ได้แก่ ข้าว อาหารทุกอย่าง.
  12. ยาวตติยก : (นปุ.) ยาวตติยกะ เป็นคำเรียกอาบัติ สังฆาพิเศษ ตั้งแต่สิกขาบทที่ ๑๐-๑๓ เพราะต้องอาบัติต่อเมื่อสงฆ์ประกาศห้ามครบ ๓ ครั้งแล้ว.
  13. สตฺตกฺขตฺตุ : ก. วิ. เจ็ดครั้ง
  14. สตปาก : นป. น้ำมันหุงร้อยครั้ง
  15. สนฺทฎฐ : (ปุ.) เพื่อนเห็น (เห็นครั้งแรกก็เป็นเพื่อนกัน). สํปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเน, โต. วิ. กิญจิ กาลํ ปสฺสิตพฺโพติ สนฺทิฏโฐ.
  16. สนฺนิฏฐาน : (นปุ.) การตกลง, การตกลงใจ, ความตกลง, ความตกลงใจ, ความสันนิษฐาน (ลงความเห็นเป็นการคาดคะเนไว้ก่อน). สํ นิ ปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, ยุ.
  17. สินฺธว : (ปุ.) ม้าตัวผู้, ม้าที่มีในสินธูชนบท. วิ. สินฺธุมฺหิ ภโว สินฺธโว. ณ ปัจ. ม้าสินธพนี้แต่ก่อนจัดเป็นม้าพิเศษ.
  18. สิเนหปภว : (วิ.) มีความรักเป็นแดนเกิดก่อน.
  19. สุงฺก : (ปุ. นปุ.) ภาษี, อากร คือค่าธรรมเนียมที่รัฐบาลเรียกเก็บจากสิ่งที่เกิดจากธรรมชาติหรือสิ่งที่ทำขึ้นเพื่อการค้า, ส่วย คือของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงตามวีเรียกเก็บภาษีอากรสมัยโบราณ หรือเงินช่วยเหลือราชการที่กำหนดเรียกเก็บจากราษฎร สมัยก่อนชายที่ไม่ได้เป็นทหารจะต้องเสียส่วยให้รัฐบาลปีละ ๖ บาท. วิ. สํกติ เยน ตํ สุงฺกํ. สํก คมเน, อ.
  20. เหตุปฺปภว : (วิ.) มีเหตุเป็นแดนเกิดก่อน.
  21. อคฺคช : (ปุ.) บุคคลผู้เกิดก่อน, ลูกคนหัวปี, ลูกคนแรก, พี่ชาย.อคฺค บทหน้า ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ, ลบ นฺ. ส. อคฺรช.
  22. อจฺเจกจีวร : (นปุ.) ผ้ารีบร้อน, ผ้ารีบด่วน, อัจเจกจีวร คือ ผ้าจำนำพรรษานั่นเองแต่ทายกทายิการีบถวายเพราะมีเหตุจำเป็นต้องไปในกองทัพหรือเจ็บไข้ หญิงมีครรภ์ไม่มั่นใจในชีวิตมีพระพุทธานุญาตให้ภิกษุรับได้ก่อนออกพรรษา ๑๐วัน รับแล้วเก็บไว้ได้ตลอดกาลจีวร ไตร. ๒/๑๖๒.
  23. อจิตฺต : (วิ.) ไม่มีจิตเจือ, ไม่มีเจตนา, อจิตตกะคือโทษ(อาบัติ)ที่เกิด(ต้อง)โดยสมุฏฐานไม่มีเจตนา คือไม่คิดไว้ก่อน.
  24. อตฺตสมฺภว : (วิ.) มีตนเป็นแดนเกิดก่อน, เป็นแดนเกิดพร้อมแห่งตน, อันเกิดในตน.
  25. อติเรกตร : (วิ.) มากกว่า, ยิ่งกว่า, ลาภเกินกว่ากำหนด, อติเรกลาภ คือของที่ได้มามากกว่าที่กำหนดไว้ได้มาเกินจากรายได้ปกติของที่ได้มาเป็นครั้งคราว.ส.อติเรกลาภ.
  26. อถโข : (อัพ. นิบาต) ครั้งนั้น, ครั้งนั้นแล, แต่, ถึงอย่างนั้น, ที่แท้, โดยแท้จริง, โดยแท้แล.
  27. อถ, อโถ : อ. ครั้งนั้น, ลำดับนั้น, ต่อไป, เช่นกัน
  28. อเถกทิวส : (อัพ. นิบาต) ภายหลัง ณ วันหนึ่ง, ครั้นภายหลัง ณ วันหนึ่ง, ครั้นวันหนึ่ง.บางมติตัดเป็นอถ ครั้งนั้นเอกทิวสํ ในวันหนึ่งนักภาษาจะใช้แบบไหนก็สุดแต่ชอบ.
  29. อโถ : (อัพ. นิบาต) ลำดับนั้น, ครั้งนั้น, ภายหลังอนึ่ง, อนึ่งโสต, แล.แปลโดยอรรถ ว่าและบ้างรูปฯว่าใช้ในอรรถแห่งคำถามด้วย.
  30. อทินฺนปุพฺพ : (วิ.) ไม่เคยให้แล้ว, ไม่เคยให้อะไรในปางก่อน.
  31. อนฺตรามรณ : นป. ความตายในระหว่าง คือ ตายก่อนเวลาที่สมควร
  32. อนฺวทฺธมาส, อนฺวฑฺฒมาส : ก.วิ. สองครั้งต่อเดือน; ทุกครึ่งเดือน
  33. อนาวสูร : ก. วิ. ก่อนพระอาทิตย์ตก
  34. อนุปาล : (ปุ.) การตามเลี้ยง, การตามรักษา, การตามระวัง, การคอยรักษา, การคอยระวัง.เรียกโรงเรียนที่รับเด็กก่อนเข้าเกณฑ์ประถมศึกษาว่าโรงเรียนอนุบาล เรียกเด็กที่เรียนว่าเด็กอนุบาล (เด็กที่ครูต้องคอยระวัง).
  35. อนุรุทฺธ : (ปุ.) อนุรุทธะชื่อพระเถระองค์หนึ่งครั้งพุทธกาล.
  36. อปจฺฉปุริม : ค. ไม่ก่อนไม่หลัง
  37. อปฺเปกทา : (อัพ. นิบาต) ในกาลบางครั้ง, ในกาลบางคราว, บางคราว.
  38. อพฺภุ(ภู) ตธมฺม : ป. ธรรมที่ไม่เคยมีมาก่อน ; เป็นชื่อของคัมภีร์เล่มหนึ่งในนวังคสัตถุศาสน์
  39. อรตี : (อิต.) อรดีชื่อของธิดามาร ๑ ใน ๓ของพญามารซึ่งพญามารส่งมาผจญพระมหา-บุรุษตอนก่อนจะตรัสรู้.วิ.ปเรสักุสลธมฺ-เมอรตึกโรตีติอรตี.
  40. อลทฺธปุพฺพ : (วิ.) อันไม่ได้แล้วในก่อน, อัน.....ไม่เคยได้แล้ว.
  41. อวมญฺญน : (นปุ.) ความสำคัญ, ความเข้าใจ.อวปุพฺโพ, มนฺญาเณ, ยุ.ลงยปัจ.ประ-จำหมวดธาตุก่อนเป็นนฺยแปลงนฺยเป็นญฺญแปลงยุเป็นอน.
  42. อสกี : (อัพ. นิบาต) เนือง ๆ, บ่อย ๆ, ไม่ใช่ครั้งเดียว.
  43. อสกึ : ก. วิ. ไม่ใช่ครั้งเดียว, บ่อยๆ, เนืองๆ
  44. อสสริตปุพฺพ : ค. ไม่เคยท่องเที่ยวไป, ไม่เคยบังเกิดมาก่อน
  45. อาคตปุพฺพ : (วิ.) มาแล้วในก่อน, มาแล้วในกาลก่อน, เคยมาแล้ว.
  46. อาทยุปลทฺธิ : (อิต.) ความรู้สิ่งที่เกิดก่อน, ความรู้เรื่องที่เกิดก่อน, ความรู้เรื่องปฐมสัตว์, ปฐมสัตย์วัตถุ.
  47. อาลาป : (ปุ.) การกล่าวในเบื้องต้นในกาลที่ ไปและกาลเป็นที่มา. วิ. อาทิมฺหิ คมนกาล- อาคมนกาเล ลาโป อาลาโป. การทักก่อน ให้น่ารักเมื่อไปและมา, การทักก่อน, การพูดก่อน, การทักทาย. วิ. อาทิมฺหิ ลาโป อาลาโป. อาทิโก วา อาลาโป อาลาโป. อาปุพฺโพ, ลปฺ วจเน, โณ. ส. อาลป.
  48. อาวุโส : (อัพ. นิบาต) แน่ะท่านผู้มีอายุ, แน่ะ ผู้มีอายุ, ดูกรท่านผู้มีอายุ, ดูก่อนท่านผู้มี อายุ, ท่านผู้มีอายุ, คุณ. เป็นคำสำหรับ นักบวชเรียกนักบวช ผู้มีพรรษาอ่อนกว่า หรือสำหรับนักบวชพูดกับชาวบ้านก็ได้ แปลว่า จ๊ะ เจริญพร ขอเจริญพร. แปลว่า ขอรับ. ก็ได้. พูดกับผู้ชายแปลว่า พ่อ พูดกับผู้หญิง แปลว่า แม่. ส. อายุษมตฺ.
  49. อิติหา : อิต. คำสอนที่มีมาแต่อาจารย์สมัยก่อน, โบราณจารีต
  50. อุปกม อุปกฺกม : (ปุ.) การก้าวไปก่อน, ความหมั่น, ฯลฯ. อุปปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ศัพท์หลังซ้อน กฺ. ส. อุปกฺรม.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-218

(0.0421 sec)