Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หมาย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หมาย, 231 found, display 101-150
  1. ปฐวีสญฺญา : อิต. ความกำหนดหมายว่าเป็นดิน
  2. ปณฺณสญฺญา : อิต. เครื่องกำหนดหมายคือใบไม้, เครื่องหมายทำด้วยใบไม้
  3. ปตฺถนา : (อิต.) ความมุ่งหมาย, ความต้องการ, ความอยากได้, ความปรารถนา. ปตฺถยาจนายํ, ยุ, อิตถิยํ อา. ส. ปรารถนา.
  4. ปติฏฺฐิยติ, ปติฏฺฐียติ : ก. ดื้อดึงขึ้งเคียด, โกรธแค้น, หมายขวัญ
  5. ปทตฺถ : ป. อรรถแห่งบท, ความหมายของคำ
  6. ปทวณฺณนา : อิต. การพรรณนาบท, การอธิบายความหมายของคำในคาถา
  7. ปเทสลกฺขณ : นป. ลักษณะที่ปรากฏแต่เพียงบางส่วน, หมายถึงลักษณะของพระโพธิสัตว์ที่มีอยู่แต่เพียงบางประการ
  8. ปปญฺจสญฺญาสงฺขา : อิต. ส่วนแห่งสัญญาอันประกอบด้วยปปัญจธรรม, ความคิดความกำหนดหมายที่หน่วงเหนี่ยวจิต, ความคิดปักใจ
  9. ปพฺพชฺชา : (อิต.) การเว้น, การละเว้น, การบวช, บรรพชา (การละเว้นจากการทำชั่ว ทุกอย่าง ). บรรพชานั้นต้องเว้นจากเมถุน ธรรม การบวชในศาสนาหรือลัทธิใดก็ตาม ถ้าเว้นจากกามกิจแล้วเรียกว่าบรรพชาได้. ความหมายของคำ ปพฺพชา นั้น คือการออกจากความเป็นฆราวาส ไปประพฤติตน เป็นนักบวช ต่อมามีพระบัญญัติให้ผู้ที่มี อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์บวช เรียกผู้ที่ บวชนั้นว่า สามเณร สามเณรี จึงแยกการบวชออกเป็น ๒ คือ บวชเป็นภิกษุ เรียกว่า อุปสมบท บวชเป็น สามเณร สามเณรี ว่า บรรพชา. ปปุพฺโพ, วชฺชฺ วชฺชฺเน, อ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘ รูปฯ ๖๔๔ วิ. ปฐเมว วชิตพฺพาติ ปพฺพชฺชา. ปฐมปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, โณฺย ภาวกมฺเมสุ. แปลง ชฺย เป็น ชฺช แปลง ว เป็น วฺว แล้วแปลงเป็น พฺพ. โมคฯ ลง ย ปัจ. ส. ปฺรวรชฺยา.
  10. ปพฺพตราช : ป. ราชาแห่งภูเขา, จอมแห่งภูเขา, ขุนเขา หมายถึงภูเขาหิมาลัย
  11. ปโยชน : (นปุ.) การรับใช้, การส่งไป, สิ่งอันเหตุพึงทำให้สำเร็จ, ผลอันสำเร็จมาจาก เหตุ. วิ. ยํ ผลํ เหตุนา โยเชตพฺพํ ปวตฺตพฺพํ ตสฺมา ตํ ผลํ ปโยชนํ. ปปุพฺโพ, ยุชฺ ปวตฺติยํ, ยุ. สิ่งอันบุคคลพึงประกอบ ( เพราะเป็นสิ่งที่ให้คุณ ) , ความดี, วิ. ปโยเชตพฺพนฺติ ปโยชนํ. ยุชฺ โยเค. ไทย ประโยชน์ ใช้ในความหมายว่า สิ่งที่มีผลใช้ได้ดีสมกับที่คิดมุ่งหมายไว้ หรือผลที่ได้ตามต้องการสิ่งที่เป็นผลดี สิ่งที่เป็นคุณ. ส. ปฺรโยชน.
  12. ปรทารกมฺม : (นปุ.) กรรมคือการประพฤติ ล่วงซึ่งภรรยาของบุคคลอื่น, การประพฤติ ล่วงภรรยาของคนอื่น, การคบหาภรรยา ของผู้อื่น. คบหา หมายถึง การคบในทาง ชู้สาว.
  13. ปรมตฺถโต : อ. โดยปรมัตถ์, โดยความหมายอย่างสูงสุด, โดยความหมายที่จริงแท้
  14. ปรายณ, - ยน : นป. ที่พึ่ง, ที่พำนัก, ที่พักพิง, เครื่องแบ่งเบา, จุดหมายขั้นสุดท้าย, จุดจบ; ในคำสมาสแปลว่า....เป็นที่ไปในเบื้องหน้า, มี....เป็นที่สุด, ตรงต่อ..., เที่ยงต่อ...
  15. ปริญฺญา : (อิต.) ธรรมชาติเป็นเครื่องกำหนดรู้, ปัญญาเป็นเครื่องกำหนดรู้, ความกำหนดรู้, ความรู้รอบ, ความรอบรู้, ความหยั่งรู้, ความรู้รอบคอบ. ปริ+ญา+อ ปัจ. ซ้อน ญฺ อา อิต. ไทย ปริญญา หมายถึงชั้นความรู้ ที่มหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัย ซึ่งมีกฎหมาย กำหนดให้ให้ปริญญาได้ ประสาทให้แก่ผู้ที่ สอบความรู้ได้ตามที่กำหนดไว้. ส. ปรีชฺญา.
  16. ปริปท : (นปุ.) ข้อความรอบๆ , บทข้างเคียง คือคำหรือข้อความแวดล้อม เพื่อช่วยให้ เข้าใจความหมาย.
  17. ปหูตภกฺข : ค. กินมาก, กินไม่รู้จักอิ่ม (หมายถึงไฟ)
  18. ปารายน : นป. การมีคติเป็นที่ไปในเบื้องหน้า, จุดมุ่งหมายอันสูงสุด
  19. ปาวจน : นป. ปาพจน์; คำอันเป็นประธาน หมายถึงพระธรรมและพระวินัย
  20. ปิจฺฉ : นป. ขนหาง (โดยเฉพาะหมายถึงขนหางนกยูง) ; ยางไม้, กาว
  21. ปิณฺฑตถ : ป. ความหมายที่ประมวลมา, ข้อความย่อ
  22. ปุพฺพการี : (ปุ.) บุคคลผู้ทำก่อนโดยปกติ,ฯลฯ, บุคคลผู้ทำอุปการะก่อน, บุพพการี บุคคล. ในกฏหมาย คำบุพการี หมายถึง บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย ทวด (ทั้งสองฝ่าย). ในทางพุทธศาสนาหมาย ความกว้างกว่านี้ มีอธิบายในบุคคลหาได้ยาก ๒.
  23. พทฺธสีมา : (อิต.) เขตอันสงฆ์ผูกแล้ว, แดนอันสงฆ์ผูกแล้ว, พัทธสีมา คือเขตแดนที่สงฆ์กำหนดขึ้น มีศิลาเป็นต้น เป็นครื่องหมายเขต.
  24. พฺยาธิ : (ปุ.) ภาวะอันเสียดแทง, ภาวะที่เบียดเบียน, ภาวะอันบีบคั้นใจ, ภาวะอันทำลาย, ความบีบคั้น, ความเจ็บไข้, โรค, พยาธิ. วิ. วิชฺฌตีติ วฺยาธิ วา. วิธฺ วิชฺฌนาพาธเนสุ, อิ. แปลง อิ ที่ วิ เป็น ย ลง อา อาคม. อภิฯ. คำ พยาธิ ในพจนาฯ ให้อ่านว่า พะยาด และให้ความหมายว่า ได้แก่ตัวเชื้อโรคชนิดหนึ่งที่เกิดในกายและเชื้อโรคอย่างหนึ่ง ที่เกิดจากผิวหนัง ผู้เขียนพจนาฯ มคธ นี้ ว่า ที่เป็นชื่อของโรคผิวหนัง อ่านเรียงพยางค์ว่า พะ-ยา-ธิ เหมาะกว่า.
  25. พฺรหฺมจกฺก : นป. พรหมจักร, จักรอันประเสริฐหมายถึงธรรม
  26. พฺรหฺมจาริณี พรหฺมจารี : (อิต.) หญิงผู้ประพฤติประเสริฐ, หญิงผู้ประพฤติเหมือนพรหม, หญิงพรหมจารี. พรหมจาริณี พรหมจารี ไทยใช้หมายถึงหญิงที่ยังบริสุทธิ์เรื่องเพศ.
  27. พฺรหฺมภกฺข : ป. อุดมคติ; อาหารทิพย์, อาหารของพวกพรหมบางพวกหมายถึงปีติ
  28. พฺรหาหฺมณ : (ปุ.) พราหมณ์ มีความหมายดังนี้.- ๑. เป็นชื่อของชนวรรณะหนึ่ง วิ. พฺรหฺมํ อณตีติ พฺราหฺมโณ. มนฺเต สชฺชายตีติ อตฺโถ, พฺรหฺมปุพฺโพ, อณฺ สทฺเท, โณ. พฺรหฺมุโน อปจฺจํ พฺราหฺมโณ. ณ ปัจ. โคตตตัท. นฺ อาคม แปลง นฺ เป็น ณฺ. เขาถือว่า พวกเขาเกิดจาก อุระ หรือปากของพระพรหม.และ ๒. เป็นชื่อของพระอริยเจ้า พระอรหันต์ พาหิตปาปตฺตา พฺราหฺมโณ ชื่อ พระอรหันต์ เพราะความเป็นผู้มีบาปอันลอยแล้ว (ละบาปได้แล้ว).
  29. พหุปท, พหุปฺปท : ค. มีเท้ามาก หมายถึงตะขาบ; มีการให้มาก
  30. พหุลีกต : (วิ.) อัน...กระทำแล้วให้เป็นไปมาก, กระทำให้มากแล้ว, กระทำแล้วๆ เล่าๆ, กระทำเนืองๆ, กระทำให้มาก. วิ. พหุลํ กตนฺติ พหุลีกตํ. พหุล+กต อี อาคม รูปฯ ๓๒๘. คำอธิบายความหมาย พหุลีกต ดู ไตรฯ๓๑ ข้อ ๕๓๖.
  31. พุทฺธมนฺต : นป.พุทธมนต์, พระดำรัสอันแฝงไว้ด้วยความหมายอันลึกซึ้งของพระพุทธเจ้า
  32. ภณฺฑน : (นปุ.) การทะเลาะ, การทะเลาะกัน, การทุ่มเถียงกัน, การเถียงกัน, การแก่งแย่ง, การหมายมั่น, การด่า, การบริภาษ. ภฑิ ภณฺฑ ภณฺที ปริภาสเน, ยุ.
  33. ภูธร : (ปุ.) เขา, ภู, ภูเขา. วิ. ภํ ภูมึ ธรตีติ ภูธโร. ภูปุพฺโพ, ธรฺ ธารเณ, อ. ไทยใช้ภูธร เป็นพระนามของพระเจ้าแผ่นดินตามความหมายของสันสกฤต.
  34. มชฺฌิมภูมิ : (อิต.) ชั้นมีในท่ามกลาง, ฐานะมีในท่ามกลาง, มัชฌิมภูมิ คือชั้นหรือฐานะของคนชั้นกลางในพระพุทธศาสนาหมายถึงความรู้ชั้นกลางคือนักธรรมชั้นโท หรือหมายถึงพระชั้นกลางมีพรรษาตั้งแต่ ๕ ถึง ๙ พรรษา.
  35. มญฺญติ : ก. สำคัญหมาย, รู้
  36. มูลนิธิ : (ไตรลิงค์) ทรัพย์อันบุคคลเก็บไว้เป็นต้นทุน, มูลนิธิ ชื่อทรัพย์สินอันตั้งไว้เป็นทุนเก็บแต่ดอกผลมาใช้ในการกุศลหรือประโยชน์สาธารณะ ต้องจดทะเบียนตามกฏหมาย.
  37. เมธค : (ปุ.) ภาวะอันย่ำยี นิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ธรรมชาติอันย่ำยีนิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ความทุ่มเถียง, ความทะเลาะ, ความวิวาท, ความผิดพ้อง, ความร้าวฉาน, ความร้าวราน, ความมั่นหมาย, ความหมายมั่น, ความอาฆาต, ความอาฆาตมาดร้าย, กลหธรรมอันไปจากเมธา. เมธ+คมฺ ธาตุ กวฺ ปัจ.
  38. เมธคา : (อิต.) ภาวะอันย่ำยี นิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ธรรมชาติอันย่ำยีนิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ความทุ่มเถียง, ความทะเลาะ, ความวิวาท, ความผิดพ้อง, ความร้าวฉาน, ความร้าวราน, ความมั่นหมาย, ความหมายมั่น, ความอาฆาต, ความอาฆาตมาดร้าย, กลหธรรมอันไปจากเมธา. เมธ+คมฺ ธาตุ กวฺ ปัจ.
  39. รฏฺฐมฺมนุญฺญ : (นปุ.) รัฐธรรมนูญ ชื่อกฏหมายสูงสุดของประเทศ เป็นกฎหมายอันเป็นที่พึงพอใจของประชาชนทั้งประเทศ ประชาชนทั้งประเทศอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญนี้. รฏฺฐ+ธมฺม+มนุญฺญ ลบอักษรที่เสมอกันสามตัวเสียตัวหนึ่ง.
  40. รสิมนฺตุ : ค. มีแสงสว่าง ( หมายเอาพระอาทิตย์ )
  41. ลกฺข : นป. เครื่องหมาย, รอย, ที่หมาย, เป้า; แสน
  42. ลกฺเขติ : ก. หมาย, กำหนด
  43. วจนตฺถ : ป. ความหมายแห่งถ้อยคำ
  44. วจีวิญฺญตฺติ : อิต. วจีวิญญัติ, การกำหนดหมายให้รู้โดยทางคำพูด
  45. เววจน : นป. คำมีรูปต่างกัน แต่ความหมายเหมือนกัน, ไวพจน์
  46. สกทาคามี : ป. ผู้จะมาเกิดอีกคราวเดียว - หมายถึงพระอริยบุคคล
  47. สงฺเกต : นป. การหมายไว้, การกำหนดไว้
  48. สญฺญา : อิต. ความจำได้, ความหมายรู้
  49. สทฺทตฺถ : ป. ความหมายของคำ
  50. สทฺธิวิหาริก : ค. ผู้อยู่ร่วม, หมายถึงภิกษุที่บวชกับอุปัชฌาย์องค์ใดก็เป็นสัทธวิหาริกของอุปัชฌาย์องค์นั้น
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-200 | 201-231

(0.0105 sec)