Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ดัง , then ดง, ดัง, ตํ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ดัง, 248 found, display 101-150
  1. อิว : (อัพ. นิบาต) ราวกะ, เพียงดัง, เหมือน, เช่น, ดุจ, ประหนึ่ง.
  2. อิสฺสา : (อิต.) ความเกียดกัน, ความชิงชัง, ความหึงหวง, ความริษยา (นิสัยที่เห็นเขา ได้ดีแล้วทนอยู่ไม่ได้ คิดตัดรอนเขา คิด ทำลายเขา). วิ. อิสฺสติ สตฺเตสุปิ คุเณสุ วจสา มนสา วา โทสาโรปนํ กโรตีติ อิสฺสา. อิสฺส อิสฺสายํ, อ. อิสฺ อิสฺสายํ วา, โส. ไทยนำคำ อิจฉา ซึ่งแปลว่าความหวัง เป็นต้น มาใช้ในความหมายว่าริษยา ดังคำ ว่า อิจฉาตาร้อน. ส. อีรฺษยา.
  3. อึฆ อิงฺฆ : (อัพ. นิบาต) เชิญ, เชิญเถิด, เอา เถิด, ดังเราเตือน, ดังเราตักเตือน.
  4. อุกาส : (อัพ. นิบาต) ดังข้าพเจ้าขอโอกาส. แปลยักเยื้องไปได้อีกตามความเหมาะสม.
  5. อุจฺจาสทฺท : (ปุ.) เสียงสูง, เสียงดัง.
  6. อุชฺชคฺฆติ : ก. หัวเราะลั่น, หัวเราะดัง
  7. อุชฺฌคฺคิกา : อิต. การหัวเราะดัง
  8. อุนฺนฬ : (ปุ.) ความมีมานะดังว่าไม้อ้อสูง, ความเชิดตัว.
  9. อุนฺนาที : ค. อึกทึก, ดังสนั่นหวั่นไหว
  10. อุรณ : (ปุ.) แกะ, แพะ. วิ. น รณตีติ อุรโณ (ไม่ร้องดัง). อุปุพฺโพ ปฏิเสเธ, รณฺ สทฺเท, อ. ส. อุรณ อุรภฺร.
  11. มหารญฺญ : (นปุ.) ป่าใหญ่, ป่าไม้ใหญ่, ดง. วิ. มหาทุมลตาวนํ มหารญฺญ. มหนฺตญฺจ ตํอรญฺญ เจติ มหารญฺญ.
  12. สณฺฑ : ป. ละเมาะ, ดง, ที่ทึบ, กอ, พุ่ม
  13. อฏวี : (อิต.) ป่า, หมู่ป่า, ป่าใหญ่, ดง, พง.อฎฺ คมเน, อโว, อิตฺถิยํ อี. อถวา, อาสทฺโทอุทฺธิคมนตฺเถ, ฏุ วิรูหเน, โณ, อิตฺถิยํอี.ส. อฎวี.
  14. คทา : (อิต.) ตะบอง, ไม้ตะบอง, ไม้พลอง, ศัตรา. วิ. คํ วุจฺจติ วชิรํ, ตํ วิย ทุกฺขํ ททาตีติ คทา. อาวุธกุเวร วิ. อสฺส กุเวรสฺส ปหรณํ อาวุธํ คทา.
  15. คภีร คมฺภีร : (วิ.) ลึก, ซึ้ง, ลึกซึ้ง, สุขุม. คมฺ คติยํ, อีโร. มฺโลโป, โภ สมฺโพเธ. ศัพท์ หลังคง มฺ ไว้. คจฺฉนฺตา ภายนฺติ อสฺมินฺติ คภีโร. โค วุจฺจติ ปฐวี, ตํ ภินฺทิตฺวา คจฺฉติ ปวตฺตตีติ วา. คมฺภีโร. ค ภิทิ ปุพฺโพ, อรฺ คมเน, อ, นิคฺคหิตาคโม. แปลงนิคคหิต เป็น มฺ ลบ ทิ ทีฆะ อิ เป็น อี ใน วิ. ใช้ คมฺธาตุแทน. ส. คภฺภีร.
  16. ชิวฺหา : (อิต.) ลิ้น ( อวัยวะสำหรับลิ้มรส ) วิ. ชีวนฺติ เอตายาติ ชิวฺหา. ชีวิตนิมิตฺตํ รโส ชีวิตํ นาม, ตํ อวฺหยตีติ วา ชิวฺหา. ชีวฺ ปาณธารเณ, โห, รสฺสตฺตํ. ส. ชิวฺหา.
  17. ถมฺภกรี : (ปุ.) ข้าวเปลือก. วิ. ถมฺโภ คุมโภ, ตํ กโรตีติ ถมฺภกรี. กรฺ กรเณ, อี. ฏีกา อภิฯ ลง อิ ปัจ. เป็น ถมฺภกริ.
  18. ทิฎฺฐมตตก : (ปุ.) เพื่อนเห็น (เห็นกันครั้ง แรก ก็เป็นเพื่อนกัน) วิ. ทสฺสนํ ทิฎฺฐํ, ตํ มตฺตํ ปมาณ เมตสฺสาติ ทิฎฺฐมตฺตโก. ก สกัด.
  19. นลการ นฬการ : (ปุ.) ช่างสาน, ช่างจักสาน, ช่างสานเสื่อ. วิ. นโล เวณุเวตฺตาทีนํ วิกติ, ตํ กโรตีติ นลกาโร นฬกาโร วา.
  20. นารงฺค : (ปุ.) ตะโก, มะเกลือ, มะแว้ง, มะสัง, หมากหนาม, ต้นส้ม, ผลส้ม. วิ. นารํ วุจฺจติ นีรํ, ตํ คจฺฉตีติ นารงฺโค. ส. นารงฺค
  21. อาฬาริก : (ปุ.) ช่างทำขนม, คนครัว, พ่อครัว. วิ. อฬาโร นาม สูปาทิวิกติ, ตํ กโรตีติ อาฬาริโก. อิก ปัจ. ส. อาราลิก.
  22. กาฬายส : (นปุ.) เหล็ก วิ. กาฬญฺจ ตํ อยสญฺ จาติ กาฬายสํ.
  23. กุมิน : (นปุ.) ไซ, ลอบ (เครื่องดักปลามีอย่าง ต่างๆ ถ้าเนื้อความมีความมีความหมาย กว้างๆแปลว่า ลอบไซ). วิ. วชฺฌปฺปตฺตาย กุจฺฉิตา มีนา ยสฺมึ ตํ กุมินํ. กมุ ปทวิกฺ เขเป, อิโน, อสฺส อุตฺตํ. กมนฺติ เอตฺถ มีนาทโย ปวิสนฺตีติ วา กุมินํ. อถวา, กุจฺฉิเตนากาเรน มจฺเฉ มินนฺติ เอเตนาติ วา กุมินํ. กุปุพฺโพ, มิ หึสายํ, ยุ.
  24. คท : (ปุ.) ความเจ็บไข้, ความไม่สบาย, โรค. วิ. คํ วุจฺจติ ทุกฺขํ. ตํ เทตีติ คโท. คปุพฺโพ, ทา ทาเน, อ. ส. คท.
  25. เชตุตฺตร : (นปุ.) เชตุดร ชื่อนครพิเศษ ๑ ใน ๒0 ของอินเดียโบราณ. วิ. เจติยรรฏฺเฐ อุตฺตมตฺตา เชตุตฺตรํ. แปลง จ เป็น ช ม เป็น ร. เวริชยฏฺฐานตฺตา เชตพฺพํ จ ตํ อุตฺตมตฺตา อุตฺตรํ จาติ วา เชตุตฺรํ. เป็น เจตุตฺตร บ้าง.
  26. ตกฺกร : (ปุ.) โจร. ขโมย. วิ. ตํ กโรตีติ ตกฺกโร. ตปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ. เถยฺยตฺถํ วา ตกฺกยตีติ ตกฺกโร. ตกฺก วิตกฺเก, อโร.
  27. ตกฺกสิลา : (อิต.) ตักกสิลา ชื่อนครพิเศษของ อินเดียโบราณ. วิ. โย ปุริสกาเรน อูโน โส ตตฺถ คนฺตฺวา ตํ อูนํ ปูเรตีติ ตกฺกสิลา
  28. ตกฺการี : (อิต.) คนทา ชื่อพรรณไม้สกุลปลา ไหลเผือกรากใช้เป็นยาแก้ไข้ในกลุ่มยา ๕ ราก โบราณเรียกว่ายาแก้ว ๕ ดวง หรือยา แก้ว ๕ ราก วิ. ตํ ตํ โรคขยนาทิกํ กโรตีติ ตกฺการี. ณีปัจ.
  29. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  30. ตชฺชารี : (อิต.) ตัชชารี ชื่อมาตรา นับเท่ากับ ๓๖ อณู. วิ. อณโว ฉตฺตึส ตชฺชารี นาม. ตํ ตํ อตฺตโน นิสฺสยํ มลินกรณวเสน ชราเปตีติ ตชฺชารี ชรฺ วโยหานิมฺหิ. ณี.
  31. ตณหา : (อิต.) นางตัณหา ชื่อธิดามาร ๑ ใน ๓ คน วิ. โย ตํ ปสฺสติ ตํ ตสิตํ กโรตีติ ตณฺหา. ตสฺ นิปาสายํ ณฺห สโลโป, อิตฺถิยํ อา.
  32. ตตฺตก : (วิ.) มีประมาณนั้น, มีประมาณเพียง นั้น. วิ. ตํ ปริมาณมสฺสาติ ตตฺตกํ ตฺตก ปัจ. รูปฯ ๓๖๙.
  33. ตปฺปร : (วิ.) ผู้มีสิ่งนั้น ๆ เป็นประธาน, ผู้มี ความเพียร, ผู้เอาใจใส่, ผู้ตั้งหน้า, ผู้ตั้ง หน้าตั้งตา (ตั้งใจทำ ทำอย่างจริงจัง ทำ อย่างมุ่งมั่น). วิ. ตํ ตํ จตฺถุ ปรํ ปธาน มสฺสาติ ตปฺปโร ลบ ต หนึ่งศัพท์.
  34. ตาวตก : (วิ.) มีประมาณเพียงนั้น, ฯลฯ. วิ. ตํ อิว ปริมาณ มสฺส ตาวตกํ ต+อาวตก ปัจ. รูปฯ ๖๓๙ วิ. ตํ ปริมาณ มสฺสาติ ตาวตกํ.
  35. ติณสูล : (นปุ.) มะลิซ้อน วิ. ติณานิ สูลนฺติ ยสฺมึ ตํ ติณสูลํ. สูลฺ รุชายํ, อ. เป็น ติณสุล บ้าง.
  36. เตจีวริก : (วิ.) ผู้ทรงไว้ซึ่งไตรจีวรเป็นวัตร. โมคฯ ณาทิกัณฆ์ ๗๒ วิ. ติจีวรธารณํ สีลมสฺสาติ เตจีวริโก (ภิกฺขุ). รูปฯ ๓๖๐ วิ. ติจีวรธารณํ ตีจีวรํ. ตํ สีล มสฺสาติ เตจีวริโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  37. โตรณ : (นปุ.) เสาค่าย, เสาระเนียด, ทวาร, โขนทวาร (ประตูป่า ประตูป่าที่ทำตาม ตำราพราหมณ์), เสาไต้, ซุ้ม. วิ. ถวนฺตา รณนฺตฺยเตรติโตรณํ. ถิ+รณ แปลง อิ เป็น โอ ถฺ เป็น ตฺ. อุปริมาลาทิยุตฺตโสภณ- ถมฺภทฺวย มุภยโต นิกฺขมิตฺวา ยํ พหิทฺวารํ กปฺปิยเต ตํ โตรณํ. ตุรฺ สีฆคติยํ, ยุ. ส. โตรณ.
  38. ทีฆสุตฺต : (วิ.) ผู้ประพฤติช้า, ผู้ชักช้า, ผู้เฉื่อย ชา, ผู้ผัดวันประกันพรุ่ง. วิ. โย อาลสฺ ยาวสาทีหิ อนุติฏฺฐติ โส ทีฆสุตฺโต, ทีฆญฺจ ตํ สุตฺตญฺจ ตมิว จรตีติ ทีฆสุตฺตํ, ทีฆสุตฺตปริยนฺติกํ การิยํ กโรตีติ ทีฆสุตฺโต. ฎีกาอภิฯ.
  39. ทูร : (วิ.) ไกล. อภิฯ วิ. ทุกฺเขน อรติ ยํ ตํ ทูรํ. อรฺ คมเน, อ. กัจฯ ๖๗๐ วิ. คมิตํ อลํ อนาสนฺนตฺตาติ ทูโร. รูปฯ ๖๖๔ ทุ คติยํ, อูโร. ส. ทูร.
  40. นมฺตก : (นปุ.) ผ้าเปื้อน. ผ้าขี้ริ้ว. นตฺถิ อนฺโตทสา ยสฺส ตํ นนฺตกํ. ก สกัด.
  41. นิพฺพิเสวน : (วิ.) มีอันเสพผิดไปปราศแล้ว วิ. นิคฺคตา วิเสวนา ยสฺส ตํ นิพฺพิเสวนํ (จิตฺตํ).
  42. ปโยชน : (นปุ.) การรับใช้, การส่งไป, สิ่งอันเหตุพึงทำให้สำเร็จ, ผลอันสำเร็จมาจาก เหตุ. วิ. ยํ ผลํ เหตุนา โยเชตพฺพํ ปวตฺตพฺพํ ตสฺมา ตํ ผลํ ปโยชนํ. ปปุพฺโพ, ยุชฺ ปวตฺติยํ, ยุ. สิ่งอันบุคคลพึงประกอบ ( เพราะเป็นสิ่งที่ให้คุณ ) , ความดี, วิ. ปโยเชตพฺพนฺติ ปโยชนํ. ยุชฺ โยเค. ไทย ประโยชน์ ใช้ในความหมายว่า สิ่งที่มีผลใช้ได้ดีสมกับที่คิดมุ่งหมายไว้ หรือผลที่ได้ตามต้องการสิ่งที่เป็นผลดี สิ่งที่เป็นคุณ. ส. ปฺรโยชน.
  43. ปรมนฺน : (นปุ.) ข้าวปายาส ( ข้าวระคนด้วย น้ำนม ) วิ. เทวนฺนตฺตา ปรมญฺจ ตํ อนฺนญฺเจติ ปรมนฺนํ.
  44. ปรมฺปรโภชน : (นปุ.) โภชนะอันคนอื่นนิมนต์ ภายหลัง, โภชนะที่คนนิมนต์ทีหลัง. ภิกษุ รับนิมนต์ฉันไว้แห่งหนึ่ง แล้วไม่ไปฉัน กลับไปฉันที่เขานิมนต์ทีหลังอันเป็นเวลา เดียวกัน เรียกว่า ฉันเป็นปรัมประ ทรง ห้ามไว้ พุทธประสงค์ เพื่อรักษาศรัทธา ( หน้า ) ของทายกทายิกาผู้นิมนต์ก่อน. ปญฺจนฺนํ โภชนานํ อญฺญตเรน โภชเนน นิมนฺติโต ตํ ฐเปตฺวา อญฺญานํ ปญฺจนฺนํ โภชนา นํ อญฺญตรํ โภชนํ ภุญฺชติ. เอตํ ปรมฺปรโภชนํ นาม. ไตร. ๒/๓๒๐
  45. เปลว : (วิ.) ละมุนละม่อม, ละเอียด, ห่าง. วิ. ปิโย ลโว ยสฺมึ ตํ เปลวํ. ปิยสฺส เป. เปลิ คมเน วา อโว, ปิลฺ วตฺตเน วา.
  46. ผารุสก : (นปุ.) ผารุสกะ ชื่อสวนหรือป่าของท้าวสักกะ, สวนหรือป่าของพระอินทร์. วิ. ผารุสการนํ ยตฺถ สนฺติ ตํ ผารุสกํ. ณ ปัจ.
  47. ภทฺททารุ : (ปุ.) เทพทาโร, ไม้เทพทาโร. วิ. เทวานํ ตนุภูตตฺตา ภทฺทญฺจ ตํ ทารุ เจติ ภทฺททารุ.
  48. ภทฺทมุตฺต : (นปุ.) กะเม็ง ชื่อหญ้าต้นเตี้ยๆ ไม่มีแก่น ลำต้นสีม่วง ใบเขียวมีขนคายดอกขาว ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะ ใช้ทำยา, หญ้าปากกา. มุจฺ โมจเน, โต. โรคหรณตฺตา ภทฺทญฺจ ตํ มุตฺตญฺเจติ ภทฺทมุตฺตํ.
  49. มคฺค : (ปุ.) ถนน, หน (ทาง), ทาง, หนทาง, ช่อง, อุบาย, เหตุ (ใช้คู่กับคำว่าผล), มรคา, มรรคา, มรรค. วิ. ปถิเกหิ มชฺชเต นิตฺติณํ กรียเตติ มคฺโค. มชฺชฺ สํสุทฺธิยํ, โณ, ชสฺส คตฺตํ. ปถิเกหิ มคฺคียเตติ วา มคฺโค. มคฺคฺ อเนฺวส-เน, อ. ตํ ตํ กิจฺจํ หิตํ วา นิปฺผาเทตุกาเมหิ มคฺคียตี-ติ วา มคฺโค.
  50. รสิ : (อิต.) แสง, แสงสว่าง, รังสิ, รังสี, รัศมี. วิ. รสนฺติ ตํ สตฺตาติ รํสิ. รสฺ อสฺสาทเน, อิ, นิคฺคหิตคโม.
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-200 | 201-248

(0.0174 sec)