Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ดัง , then ดง, ดัง, ตํ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ดัง, 248 found, display 51-100
  1. พพฺภรพ : ป. การทำเสียงให้ดัง; การทำให้ก้อง, การทำเสียงดังพะพะ เช่น เสียงทุบและเสียงกระทบเป็นต้น
  2. พฺรหฺมจริย : (นปุ.) ความประพฤติซึ่งธรรมอันประเสริฐ, ความประพฤติประเสริฐ, ความประพฤติเพียงดังพรหม, ความประพฤติเหมือนพรหม, ความหนักแน่น, ความตั้ง ใจมั่น, ทาน, อัปปมัญญา, สาสนะ, พรหมจรรย์ (การถือบวช การถือพรตเว้นเมถุนธรรม). ความสิ้นราคะ โทสะและโมหะ เป็นที่สุดของพรหมจรรย์ ไตร. ๑๙/๓๐/๙.
  3. พฺรหฺมเทฺยฺย : (นปุ.) รางวัลอันบุคคลผู้ประเสริฐพึงให้, รางวัลอันบุคคลผู้เพียงดังพรหมพึงให้, รางวัลอันประเสริฐ.
  4. พฺรหฺมรูปวณฺณ : (วิ.) มีวรรณะเพียงดังวรรณะแห่งรูปแห่งพรหม.
  5. พฺรหฺมสฺสร : ป. เสียงเพียงดังเสียงแห่งพรหม; เสียงนุ่มนวลแจ่มใสไพเราะ
  6. พุทฺธาทิจฺจ : (ปุ.) พระพุทธเจ้าเพียงดังดวงอาทิตย์, พระพุทธเจ้าดังดวงอาทิตย์. วิ. พุทฺโธ อาทิจฺโจ อิว พุทฺธาทิจฺโจ.
  7. พุทฺธาภิเสก : (ปุ.) การได้บรรลุเป็นพระพุทธเจ้า, พุทธาภิเษก. พุทธาภิเษกไทยใช้เป็นชื่อของพิธีกรรม มีพระสงฆ์สวดสรรเสริญคุณ มีพระอาจารย์นั่งปรกในการหล่อ พิมพ์ พระพุทธรูป หรือ รูปเปรียบ รูปเหมือน หรือวัตถุต่างๆ หรือเมื่อหล่อหรือพิมพ์แล้ว เพื่อบรรจุพลังจิตลงไปในรูปหรือวัตถุนั้นๆ ไม่ใช่ปลุกพระพุทธเจ้าดังที่บางท่านเข้าใจ เพราะพระพุทธเจ้าทรงเป็นพุทธะแล้ว.
  8. ภูริปญฺญ : (วิ.) ผู้มีปัญญาราวกะว่าแผ่นดิน, ผู้มีปัญญากว้างขวางดังแผ่นดิน, ผู้มีปัญญากว้างขวางดุจแผ่นดิน, ผู้ประกอบด้วยปัญญากว้างขวางเสมอด้วยแผ่นดิน.
  9. มญฺเญ : (อัพ. นิบาต) เห็นจะ, ทำนอง, บางที, ราวกะ, ดังเราจะกริ่งมโนนัย.
  10. มหิลามุข : (ปุ.) ช้างมีหน้าเพียงดังหน้าแห่งช้างพัง, ช้างมงคลชื่อ มหิลามุข.
  11. มาตุคาม : (ปุ.) อัตภาพมีบ้านดังบ้านแห่งมารดา, อัตภาพถึงซึ่งความเป็นผู้เสมอด้วยมารดา, ชนผู้เป็นไปเหมือนแม่, ชนผู้มีเพศแม่, หญิงชาวบ้าน, หญิง, ผู้หญิง, หญิงมนุษย์. วิ. มาตุยา คาโม วิย คาโม ยสฺสา สา มาตุคาโม. มาตา วิย คจฺฉตีติ วา มาตุคาโม. มาตุยา สมภาวํ มิสฺสีภาวญฺจ คจฺฉตีติ วา มาตุคาโม. คมุ คมเน, โณ. มาตา วิย คสตีติ วา มาตุคาโม. คสฺ อทเน, โณ, สสฺส โม. มาตา วิย คายตีติ วา มาตุคาโม. เค สทฺเท, โม. แปลง เอ เป็น อา.
  12. มุขจนฺท : (ปุ.) หน้าเพียงดังดวงจันทร์.
  13. มุทธา : (อิต.) ปัญญาเพียงดังศรีษะ, ปัญญาชื่อมุทธา, หัว, ศรีษะ, ยอด, ที่สุด. อาอิต.
  14. ยถาฐิต : ค. ตามที่ยืนอยู่แล้ว, ดังที่มันเป็นอยู่
  15. ยนฺนูน : (อัพ. นิบาต) ไฉนหนอ, ถ้ากระนั้น, ถ้ากระไร, กระไรหนอ, อะไรหรือแล, ผิฉะนั้น, ผิดังนั้น, อย่ากระนั้นเลย.
  16. วิกฺกนฺตติ : ก. ร้องเสียงดัง, ตะโกน
  17. วิรวติ : ก. ร้องดัง
  18. สนฺทพฺภ : (วิ.) ร้องดัง, ร้องลั่น, สํปุพฺโพ, ทภิ สทฺเท, อ.
  19. สรพ สรว : (วิ.) เอ็ดอึง, ดังรั่น. สํปุพฺโพ, รุ สทฺเท, โณ. ลบนิคคหิต พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว ศัพท์ต้นแปลง ว เป็น พ.
  20. สีหนาท : (ปุ.) อันบันลือเพียงดังว่าอันบันลือแห่งราชสีห์, การบันลือเพียงดังว่าการบันลือแห่งราชสีห์, การเปล่งเสียงองอาจ, การพูดอย่างองอาจ.
  21. สุกรเปต : (ปุ.) เปรตมีศรีษะเพียงดังศรีษะแห่งสุกร. เป็น วิเสสนบุพ.กัม. มี ฉ.อุปมพหุพ. เป็นท้อง.
  22. สุรุสุรุ : (วิ.) ซูด ๆ. ซูด ๆ คือเสียงที่เกิดจากการซดน้ำแกง ผู้มีมารยาทดีย่อมไม่ซดน้ำแกงให้ดังซูด ๆ ทางพุทธศาสนาถือว่าเป็นการเสียกิริยา.
  23. สุวณฺณวณฺณ : (วิ.) มีสีเพียงดังสีแห่งทอง, มีผิวเพียงดังผิวแห่งทอง, มีผิวเหมือนทอง.
  24. สูกรเปต : (ปุ.) เปรตมีสีสะดังสีสะแห่งสุกร, เปรตมีหัวเหมือนหัวหมู. มี วิ. ดังนี้.
  25. สูจิมุข : (ปุ.) สัตว์มีปากเพียงดังเข็ม, สัตว์มีปากเหมือนเข็ม, สัตว์มีปากเช่นกับเข็ม, ยุง, ริ้น, เหลือบ.
  26. หตฺถิก : (ปุ.) ตุ๊กตาช้าง. หตฺถี+ก ปัจ. ลงในอรรถเปรียบเทียบ รัสสะ อี เป็น อิ. สัตว์นี้เพียงดังช้าง วิ. หตฺถี อิว อยํ สตฺโต หตฺถิโก.
  27. หตฺถิลิงฺค : (วิ.) มีเพศเพียงดังเพศแห่งช้าง.
  28. หนฺท : (อัพ. นิบาต) ก็, เชิญเถิด, เอาเถิด, เอาเถอะ, ช่างเถอะ, ช่างเถิด, วานทีเถิด, ช่วยทีเถิด, ผิดังนั้น, ทำกระไร.
  29. หริสฺสวณฺณ : (วิ.) มีสีดังว่าสีแห่งทอง, มีรัศมีอันงามดุจสีแห่งทอง, มีวรรณะเสมอด้วยทอง, มีสีเสมอด้วยทอง, มีผิวงามเหมือนทอง. วิ. หรินา สมาโน วณฺโณ ยสฺสาติ หริสฺสวณฺโณ. แปลง สมาน เป็น ส ซ้อน สฺ.
  30. อโฆส : (วิ.) มีเสียงไม่ก้อง, มีเสียงไม่ดัง.
  31. องฺคณ : (นปุ.) กิเลสชาตเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ถึงภพน้อยและภพใหญ่, กิเลสชาตเป็นเครื่องถึงภพน้อยและภพใหญ่, กิเลสเพียงดังเนิน, กิเลสยวนใจ, กิเลสเครื่องยียวน, มลทิน, เปลือกตม, เนิน, ลาน, ลานข้าว, ที่ว่าง, ที่โล่งแจ้ง, ภุมิภาค.องฺค คมเน, ยุ, นสฺส โณ (แปลง น ซึ่งแปลงมาจาก ยุเป็น ณ).
  32. องฺคนา : (อิต.) หญิง, ผู้หญิง, นาง. นางผู้มีอวัยะงาม.องฺคฺ คมเน, ยุ, อิตฺถิยํ อา. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๙๒ ลง น ปัจ. ส. องฺคนาว่านางผู้มีแขนขากลมดังเทียน.
  33. องฺคีรส : (วิ.) ผู้มีองค์เป็นแดนซ่านออกแห่งรัศมี, ผู้มีรัศมีอันซ่านออกจากอวัยวะ, ผู้มีรัศมีอันซ่านออกจากตน, ผู้มีรัศมีอันซ่านออกจากตนดังเปลวไฟ.วิ. องฺคมฺหิ กาเยรโส รํส ทิปฺปเต ยสฺสาติ องฺคีรโส. ณ ปัจ.ตทัสสัตถิตัท. อี อาคม.
  34. อชครเปต : (ปุ.) เปรตมีศรีษะเพียงดังศรีษะแห่งงูเหลือม.
  35. อญฺญติตฺถิย : (ปุ.) ชนมีลัทธิดังท่าเป็นที่ข้ามอื่น, นิครนถ์ผู้มีลัทธิดังท่าเป็นที่ข้ามอื่น, อัญญติตถีย์, อัญญเดียรถีย์ (นักบวชนอกพระพุทธศาสนา).
  36. อฏฺฏหาส : (วิ.) หัวเราะเสียงดัง, หัวเราะมาก
  37. อตฺถภูต อตฺถมฺภูต : (วิ.) เป็นเพียงดังผล. วิ. อตฺโถ อิว ภูโต อตฺถภูโต อตฺถมฺภูโต วา.
  38. อถ : (อัพ. นิบาต) ขณะนั้น, ครั้นนั้น, ลำดับนั้น, ถ้าว่า, ผิว่า, หากว่า, อนึ่งโสด, ทีนั้น, ทีหลัง, เมื่อนั้น, ว่าดังนั้น, อย่างนั้น, หรือ, แล, ในกาลนั้น, ในภายหลัง, ในกาลภายหลัง, เออก้อ. อถ ที่เป็น ลักขณวันตะ แปลว่าครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น.เติม กิริยาสนฺเต (มีอยู่). รูปฯ ว่า ใช้ในอรรถแห่งคำถามบ้าง.
  39. อนงฺคณ : (วิ.) ผู้มีกิเลสเพียงดังเนินหามิได้, ผู้ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน, ผู้ไม่มีกิเลส, ผู้ไม่มัวหมอง, ผู้บริสุทธ์, ผู้งาม, งาม.น+องฺคณ.
  40. อนฺธพาล : (ปุ.) คนโง่, คนโง่ทึบ, คนโง่เพียงดังคนตาบอด, คนโง่อย่างตาบอด, คนปัญญาโง่ทึบ, คนอันธพาล, อันธพาล (คนเกะกะระราน).
  41. อนมตคฺค : (วิ.) มีที่สุดและเบื้องต้นอันบุคคลไปตามอยู่รู้ไม่ได้แล้ว, มีวิ.ตามลำดับ ดังนี้ปเรกเสสทวัน. อคฺโค จ ปุพฺโพ จ อคฺคา.วิเสสนบุพ.กัม.อนุคจฺฉิยมานา จ เตอคฺคาจาติอนุคจฺฉิมานคฺคา.นบุพ.กัม. น มตา อนมตา (อนุคจฺฉิยมานคฺคา)วิเสสน บุพ.กัม.อนมตาจเตอนุคจฺ-ฉิยมานคฺคาจาติอนมตคฺคา.ตทัสสิตัท.อนมตคฺคาอสฺสอตฺถีติอนมตคฺโค (สํสาโร วฎฺฎสํสาโร).มีสำนวนแปลอีกคือมีที่สุดอันบุคคลไปตามไม่รู้แล้ว, มีที่สุดอันบุคคลไม่รู้แล้ว, มีที่สุดและเบื้องต้นอันใครๆ ไปตามไม่รู้แล้ว, มี่ที่สุดและเบื้องต้นอันบุคคลไปตามไม่รู้แล้ว.
  42. อสินข : ค. มีเล็บเหมือนดาบ, มีเล็บดังดาบ
  43. อสิวีส : (ปุ.) สัตว์มีพิษเพียงดังดาบ, อสรพิษ(มีพิษในเขี้ยว มีพิษที่เขี้ยว).
  44. อหิเปต : (ปุ.) เปรตมีศรีษะเพียงดังศรีษะแห่งงู.
  45. อหิวาตกโรค : (ปุ.) โรคอันบังเกิดแล้วแต่ลมมีพิษเพียงดังพิษแห่งงู, โรคอันบังเกิดแต่ลมมีพิษราวกะว่าพิษแห่งงู, โรคอันเกิดแต่ลมมีพิษประดุจงู (ร้าย).
  46. อหุหาริย : นป. หัวเราะลั่น, หัวเราะเสียงดัง
  47. อโห : (อัพ. นิบาต) หรือ, หรือว่า, หรือไม่, อนิจจา, พุทโธ่, ดังเราชม, ดังเราติเตียน, น่าอัศจรรย์หนอ.
  48. อิงฺฆ : อ. เตือน; เชิญ ; คำสั่ง, เชิญเถิด, เอาเถิด, ดังเราตักเตือน
  49. อิติกิร : อ. ดังข้าพเจ้าได้ยินมาดังนี้
  50. อิม : (ไตรลิงค์) นี้. อยํ ซึ่งสำเร็จรูปมาจาก อิมศัพท์ แปลว่า “ดังต่อไปนี้” ได้ในบาง กรณีย์. ส. อิทมฺ.
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-248

(0.0245 sec)