Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ที่ , then ทิ่, ที่ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ที่, 2491 found, display 2101-2150
  1. อภูมิ : อิต. ที่อันไม่สมควร, ไม่ใช่ภาคพื้น
  2. อมชฺช : นป. หน่อ, ตุ่ม, ช่อ, สิ่งที่มิใช่น้ำเมา
  3. อมตฏฺฐาน : (นปุ.) ที่อัน...ไม่เคยตายแล้ว, ที่อันสัตว์ไม่เคยตายแล้ว, ที่แห่งสัตว์ไม่ตาย, ที่ที่สัตว์ไม่ตาย.
  4. อมถิต : ค. (นม) ที่ยังไม่แปร
  5. อมนุญฺญ : ค. ไม่น่าชอบใจ, ไม่เป็นที่ยินดี
  6. อมโนรม : ค. ไม่เป็นที่รื่นรมย์แห่งใจ, ไม่เป็นที่ชอบใจ
  7. อมฺพกา : อิต. แม่, ภรรยาที่ดี, ผู้หญิง
  8. อมฺพปานก : นป. น้ำปานะที่ทำจากผลมะม่วง, น้ำมะม่วงคั้น
  9. อมฺพุจารี : ป. ปลา, สัตว์ที่มีปกติท่องเที่ยวไปในน้ำ
  10. อมฺม, อมฺมา : ๑. อ. แน่ะแม่, ข้าแต่แม่ ; เป็นคำร้องเรียกหญิงที่สนิทกัน เช่น แม่มหาจำเริญ ; ๒. อิต. แม่
  11. อมาชาต : ค. ผู้เกิดในบ้าน, ทาสที่เกิดในเรือน
  12. อมุ : (ไตรลิงค์) อื่น, โน้น, ที่นี่, ที่นี้.
  13. อมุตร : (อัพ. นิบาต) ภพอื่น, ภพหน้า, ภายหน้าข้างหน้า, ข้างโน้น.เป็นภวันตรัตถวาจก-นิบาต.ในที่อื่น, ฯลฯ, ในที่โน้นเป็นนิบาตลงในอรรถสัตตมี.
  14. อมุตฺร : ก. วิ. ในที่นั้น, ในที่เช่นนั้น
  15. อมูฬฺหวินย : (ปุ.) อมูฬหวินัยชื่อวิธีระงับอธิ-กรณ์อย่างหนึ่งในเจ็ดอย่างถ้ามีภิกษุเป็นบ้าเมื่อหายบ้าแล้วสงฆ์จะสวดประกาศมิให้ใครโจทท่านด้วยอาบัติที่ท่านทำขณะเป็นบ้าเรียกว่าอมูฬหวินัย.
  16. อโมสธมฺม : ป. ธรรมที่ไม่เลอะเลือน, ความไม่เลอะเลือนเป็นธรรมดา
  17. อยุตฺตอยุตฺตก : (ปุ.) นายส่วย.คือคนที่เก็บของจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวง.
  18. อยุตฺต อยุตฺตก : (ปุ.) นายส่วย. คือคนที่เก็บของ จากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวง.
  19. อโยฆร : นป. เรือนเหล็ก, บ้านที่ทำด้วยเหล็ก
  20. อรญฺญวิหาร : ป. วิหารหรือกระท่อมที่อยู่ในป่า
  21. อรญฺญานี : (อิต.) ป่าไม้ใหญ่, ป่าใหญ่, ดง.เมื่อลงอีอิต. ให้เอาอที่ญเป็นอาน.
  22. อรณวิหารี : ค. ผู้อาศัยอยู่ในที่อันสงบ
  23. อริยชาติ : (อิต.) ชาติผู้เจริญ, อารยชาติคือชาติที่พ้นจากความป่าเถื่อน.
  24. อริยปุคฺคล : (ปุ.) บุคคลผู้เจริญ, บุคคลผู้ประเสริฐ, พระอริยบุคคล, ทางพระพุทธศาสนาเรียกบุคคลที่ละกิเลสได้เด็ดขาด (สมุจเฉทป-หาน)ไม่กำเริบอีกเป็นขั้น ๆว่าพระอริย-บุคคล ๆ มี ๔ ชั้นตามที่ละกิเลสได้คือพระโสดาบันพระสกทาคามีพระอนาคามีและพระอรหันต์เป็นชั้นสูงสุดทางพระ-พุทธศาสนา ไม่มีพระอริยบุคคลชั่วขณะหรือชั่วคราวหรือพระอริยบุคคลแต่งตั้งหรือนิพพานชั่วขณะ.
  25. อริยวาส : ป. การอยู่อันประเสริฐ, สภาพของจิตที่ประเสริฐ
  26. อริยสาวิกา : อิต. อริยสาวิกา, สาวกที่เป็นหญิงของพระอริยะ
  27. อรุกาย : ป. กายที่มีแผล, คือ ทวารเก้า, มีกายเป็นแผล
  28. อรุคตฺต : ค. กายที่มีแผล
  29. อรุณุคฺคมนเวลา : (อิต.) เวลาเป็นที่ขึ้นไปแห่งอรุณ.
  30. อรุปกฺก : ค. (ตัว) ที่พุพอง, ซึ่งพุพองไปด้วยแผล
  31. อรูปกายิก : ค. ซึ่งเกี่ยวกับสิ่งที่ไม่มีรูป
  32. อรูปธมฺม : (ปุ.) ธรรมมิใช่รูป, ธรรมที่ไม่มีรูป, อรูปธรรม, นามธรรม (ภาวะที่สัมผัสด้วยอายตนะคือ ตาหูจมูกลิ้นและกายไม่ได้สัมผัสสะได้แต่ใจ).
  33. อรูปธาตุ : อิต. อรูปธาตุ, สภาพที่ไม่มีตัวตน
  34. อรูปภว : (ปุ.) ที่เกิดของสัตว์ไม่มีรูป, ที่อยู่ของสัตว์ไม่มีรูป, ที่เกิดของสัตว์ผู้มีแต่นาม, ที่อยู่ของสัตว์ผู้มีแต่นามล, อรูปภพ.
  35. อรูปาวจรภูมิ : (อิต.) ภูมิเป็นที่ท่องเที่ยวไปของพรหมผู้ไม่มีรูป, ภูมิที่เป็นที่เกิดของอรูป-พรหม, ที่เกิดของอรูปาวจรวิบาก.
  36. อล : (อัพ. นิบาต) ไม่, อย่า, อย่าเลย, ไม่ควร, บมิควร, ช่างเถอะ, แท้จริง, พอ, พอละ, ประดับ, อาจ, สามารถ, ควร, สมควร.อลํเมพุทฺโธ.พระพุทธเจ้าควรแก่เรา.อลํที่ใช้เป็นประธานแปลว่าอ.อย่าเลยอ.พอละอ.ช่างเถิดอ.ไม่ควรสัมพันธ์ว่าปฏิเสธลิง-คัตถะ.อลํเตอิธวาเสน.อ.อย่าเลยด้วยการอยู่ในที่นี้แก่ท่าน.
  37. อลปเตยฺยา : อิต. ผู้มีอายุพอจะแต่งงานได้, หญิงที่ถูกกล่าวว่า “พอละ” เป็นการแสดงความไม่พอใจของสามีไล่ให้เธอกลับไปหามารดาบิดา
  38. อลฺลเกส : ป. ผมที่สระใหม่, ผมเปียก
  39. อลฺลปาณิ : ป. ฝ่ามือที่สะอาด
  40. อลฺลมสสรีร : ป. สรีระที่มีเนื้อหนังสด
  41. อลวจนียา : อิต. หญิงที่ควรแก่การว่ากล่าวอบรมได้
  42. อลสาฏก : (ปุ.) อลังสาฏกะชื่อคนที่บริโภคมากจนไม่สามารถจะนุ่งห่มผ้าสาฏกได้.
  43. อเลณ : ค. ไม่มีที่พึ่งอาศัย
  44. อวจน : นป. ไม่ใช่ถ้อยคำ, ไม่ใช่คำกล่าว, วาจาที่ผิด
  45. อวจรก (โอจรก) : ค. นักสอดแนม, จารบุรุษ, คนที่มีนิสัยชั่ว
  46. อวชาตอวชาตปุตฺต : (ปุ.) บุตรผู้เกิดต่ำแล้ว, ลูกชั้นต่ำ, อวชาตบุตร (ลูกที่เกิดมามีความรู้ความสามารถและความประพฤติต่ำกว่าตระกูล).
  47. อวฏฺฐาน : นป. ฐานะ, ตำแหน่ง, ที่ตั้ง
  48. อวธิ : (นปุ.) เขต, แดน, ความจำกัด, ความกำจัดลง, หลุม, ที่ต่ำ.อว+ธาธษตุอิปัจ.
  49. อวนฺตตณฺห : ค. ผู้ที่มีตัณหายังไม่คายคืน
  50. อวมงฺคล : (นปุ.) อวมงคล (ไม่เป็นความเจริญ).เรียกงานทำบุญเกี่ยวกับการตายว่างานอว-มงคล.คือ งานที่ปรารภเหตุที่ทำให้เกิดความเศร้าโศกเสียใจ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | [2101-2150] | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2491

(0.0848 sec)