Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สิ่งกีดขวาง, กีดขวาง, สิ่ง , then กีดขวาง, สง, สงกดขวาง, สิ่ง, สิ่งกีดขวาง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สิ่งกีดขวาง, 277 found, display 151-200
  1. ปิยทสฺสน : นป. การได้เห็นสิ่งอันน่ารักน่าพอใจ
  2. ปิยมนาปตา : อิต. ความเป็นสิ่งที่น่ารักน่าพอใจ
  3. ปิยวิปฺปโยค : ป. ความพลัดพรากจากสิ่งหรือบุคคลอันเป็นที่รัก
  4. ปีฬิโกฬิกา : อิต. ขี้ตา, สิ่งปฏิกูลซึ่งไหลออกทางตาเป็นปกติ
  5. ปุริสาชญฺญ ปุริสาชานีย ปุรสาชาเนยฺย : (ปุ.) บุรุษผู้อาจในอันรู้ซึ่งกิจอันพลัน, บุรุษผู้รู้ซึ่งเหตุผลและสิ่งใช่เหตุโดยยิ่ง, บุรุษผู้อาชาไนย, บุรุษอาชาไนย.
  6. ผสฺส : (ปุ.) อันกระทบ, อันถูกต้อง, การกระทบ, การถูกต้อง, ความกระทบ, ความถูกต้อง. วิ. ผุสนํ ผสฺโส. ผัสสะ อารมณ์ วิ. ผุสิยเตติ ผสฺโส ผุสิตพฺโตติ วา ผสฺโส. ผุสฺ สมฺผสฺเส, อ, ผสสฺส ผสฺโส (แปลง ผุส เป็น ผสฺส). อภิฯ. รูปฯ ๕๖๑ ลง ณ ปัจ. สัมปยุตตธรรม ประกอบด้วยสิ่งนั้น ชื่อผัสสะแต่ละอย่าง เช่น ตากระทบรูป เป็นต้น.
  7. โผฏฺฐพฺพ : (นปุ.) อารมณ์อันบุคคลพึงถูกต้อง, อารมณ์ที่มาถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้องกาย, สิ่งที่ถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้องกาย, สิ่งที่ถูกต้องได้ด้วยกาย. สิ่งที่เย็น ร้อน อ่อน แข็ง ละเอียด หยาบ ซึ่งมากระทบกายกระทบผิวกาย เรียกว่า โผฏฐัพพะทั้งสิ้น. ผุสฺ สมฺผสฺเส, ตพฺโพ, สสฺส โฏ, ตสฺส โฐ.
  8. พหุวจน : (นปุ.) คำพูดมาก, คำพูดบ่งถึงของมาก, คำ พูดสำหรับของมาก, คำที่กล่าวถึงสิ่งมากกว่าหนึ่ง, พหูพจน์.
  9. พาราณเสยฺยก : ค. แห่งเมืองพาราณสี, สิ่งที่ทำหรือมาจากเมืองพาราณสี
  10. พาหิรสฺสาท : ค. ผู้แสวงหาความสุขจากสิ่งภายนอก, ผู้ยินดีด้วยสิ่งภายนอก
  11. พาหิราภิมุข : ค. ผู้มีหน้าเฉพาะต่อสิ่งที่มีในภายนอก, ผู้มุ่งหน้าสู่ภายนอก, ผู้มองไปข้างนอก
  12. พาหิราส : ค. ผู้หวังในภายนอก, ผู้ปรารถนาสิ่งภายนอก
  13. พีช : (นปุ.) เหตุ, มูลเหตุ, มูลเค้า, เมล็ด, ฟอง (ฟองไข่), นิมิตบุรุษ, นิมิตสตรี, องคชาต, น้ำสุกกะ, พันธุ์ไม้, ต้นไม้, พืช (สิ่งที่จะเป็นพันธุ์ต่อไป). วิเสสปุพฺโพ, ชนฺ ปาตุภาเว, โร. ลบ เสส แปลง วิ เป็น พิ ทีฆะ ลบ ที่สุดธาตุ และ รปัจจัย อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ.
  14. พีภจฺฉทสฺสน : นป. การเห็นแจ้ง, การเห็นเป็นสิ่งน่าสยดสยองหรือน่ากลัว
  15. ภยงฺกร ภยานก : (นปุ.) สิ่งอันน่าสพึงกลัว. ความขลาด, ฯลฯ.
  16. ภิยฺโย : (อัพ. นิบาต) ยิ่ง, ยิ่งขึ้น, ยิ่งขึ้นไป, โดยยิ่ง, อีก, เกิน, มาก, เศษ (สิ่งที่เกิน), นัก, หนักเข้า. รูปฯ ว่าลงใน ปฐมา ทุติยา ด้วย.
  17. โภชน : (นปุ.) วัตถุอัน...พึงกิน, สิ่งอัน...พึงกิน, การกิน, การฉัน, ของกิน, ของบริโภค, เครื่องบริโภค, ข้าว, อาหาร. วิ. ภุญฺ-ชิตพฺพนฺติ โภชนํ. ภุญฺชิ-ยตีติ วา โภชนํ. ภุญฺชนํ วา โภชนํ. ยุ ปัจ.
  18. มณฺฑล : (นปุ.) ดวง (สิ่งที่มีลักษณะเป็นรูปกลมๆ), ดวงกลม, วง, วงกลม, กลมรอบ, วงรอบ, รูปดวงจันทร์. วิ. มณฺฑยเตติ มณฺฑลํ. มณฺฑฺ ภูสเน, อโล. มณฺฑํ ลาติ คจฺฉตีติ มณฺฑลํ. มณฺฑปุพฺโพ, ลา คติยํ, อ.
  19. มรีจิกา : อิต. เครื่องลวงตา, สิ่งลวงตา
  20. มล : (นปุ.) ธรรมชาตอันตัดเสียซึ่งความเป็นของอันยังใจให้เจริญ, สิ่งอันตัดเสียซึ่งความเจริญของใจ. มน+ลุ ธาตุ อ ปัจ.
  21. มหาวิโลกน : (นปุ.) การเลือกเหตุสำคัญ, การตรวจดูเหตุใหญ่, การพิจารณาดูสิ่งใหญ่, มหาวิโลกนะ. มหาวิโลกนะ มี ๕ คือ ๑.กาล จะต้องเป็นช่วงระยะเวลาที่มนุษย์มีอายุขัย ๑๐๐ ปี ๒. ทวีป ต้องเป็นชมพูทวีป ๓. ประเทศต้องเป็นมัชฌิมประเทศ ๔. ตระกูลต้องเป็นกษัตริย์ และ ๕. มารดาต้องเป็นหญิงมีเบญจศีล. พระโพธิสัตว์จึงจะมาอุบัติเพื่อตรัสรู้.
  22. มาติกา : (อิต.) แม่บท, หัวข้อ, หัวข้อใหญ่, ทางน้ำ, ทางน้ำไหล, ร่องน้ำ, ลำราง, เหมือง, คลอง, สิ่งเหล่านี้เป็นเหมือนแม่เพราะเป็นของตั้งอยู่ในความสำเร็จของปวงชน.
  23. มาฬ : (ปุ.) เรือนยอดเดียว, โรง คือสิ่งที่ปลูกไว้สำหรับอยู่ หรือไว้ของ ไม่มีพื้นไม้. มา มาเน, โฬ.
  24. มุทฺธช : (ปุ.) ผม (สิ่งที่งอกบนศรีษะ) วิ. มุทฺธนิ ชายตีติ มุทฺธโช. กฺวิ ปัจ. มุทธชะ เป็น คำเรียกอักษรที่เกิดเพดานปาก.
  25. ยถาภูต : ก.วิ. ตามความเป็นจริง, ในสิ่งที่เป็นจริง
  26. ยทตฺถ : (วิ.) เพื่อประโยชน์แก่สิ่งใด วิ. ยสฺส อตฺถาย ยทตฺโถ ยทตฺถา วา ยทตฺถํ วา. ย+อตฺถ ทฺ อาคม จ. ตัป.
  27. รสหราณี : อิต. สิ่งที่นำมาซึ่งรส, ผู้ปรุง
  28. รุชฺฌติ : ก. กีดขวาง, กีดกัน, ถูกห้าม, กั้น, ล้อม, ระวัง
  29. ลาภ : ป. ลาภ, โชค, สิ่งที่ได้มา
  30. เลข : ป. สิ่งที่เขียน, ปากกา, ดินสอ; แถว, แนว
  31. เลขน : นป. การเขียน; อักษร, สิ่งที่เขียน
  32. เลขา : อิต. สิ่งที่เขียน, ตัวอักษร, อักขระ, ไร่ป่า, แถว, แนว
  33. โลกวชฺช : นป. สิ่งที่ชาวโลกติเตียน
  34. โลกิก, - กิย : ค. สิ่งที่เป็นโลกิยะ
  35. โลกุตฺตร : ค. โลกุตร, สิ่งที่หลุดพ้นแล้วจากโลก
  36. วชฺช : ๑. นป. โทษ, ความผิด; เครื่องดนตรี; สิ่งที่ควรเว้น; ๒. ค. อันเขาพึงกล่าว, ควรพูดติ
  37. วาหน : นป. สิ่งที่นำไป, พาหนะ
  38. สพฺพกามทท : (วิ.) ผู้ให้ซึ่งความใคร่ทั้งปวง, ผู้ให้ซึ่งสิ่งที่ใคร่ทั้งปวง. วิ. สพฺพกามํ ทโท สพฺพกามทโท.
  39. สพฺพญฺชห : (วิ.) ผู้สละซึ่งธรรมทั้งปวง, ผู้สละซึ่งสิ่งทั้งปวง. สพฺพ+ชห ซ้อน ฺญฺ.
  40. สพ.พทท : (ปุ.) การให้ซึ่งสิ่งทั้งปวง.
  41. สพฺพทท : (วิ.) ผู้ซึ่งให้สิ่งทั้งปวง.
  42. สภาวธมฺม : (ปุ.) ความเป็นเอง, สิ่งที่เกิดเอง, สิ่งที่เป็นเอง, หลักแห่งความเป็นเอง, สภาวธัมม์ สภาพธรรม ได้แก่ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ อินทรีย์ ๒๒.
  43. สมฺปตฺติ : (อิต.) คุณชาติอันเขาพึงถึงพร้อม, คุณชาติอันเขาถึงพร้อม, การถึงพร้อม, ความถึงพร้อม, ความดี, ความดีเด่น, ความดีเด่นของสิ่งนั้น ๆ, คุณภาพ, ความมีคุณภาพ, สมบัติ. สํปุพฺโพ, ปทฺคติยํ, ติ, ติสฺส ตฺติ. ทฺโลโป. ส. สมฺปตฺติ.
  44. สมฺพาธน : นป. การขัดขวาง, การกีดขวาง
  45. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  46. สลากา : (อิต.) ซี่, ซี่ไม้, ติ้ว, ตั๋ว, สลาก ฉลาก คือ สิ่งที่ทำไว้สำหรับจับเสี่ยงทายโดยมีเครื่องหมายกำกับ เป็นการทำบุญเป็นสังฆทาน. สลฺ คติยํ จลเน วา. อาโก, อิตฺถิยํ อา.
  47. สหคต : (วิ.) เป็นไปกับ, เป็นสิ่งนั้น, เป็นอย่างนั้น, ไปด้วยกัน, ไปพร้อมกัน, เป็นไปพร้อมกัน. ทางอภิธรรมแปลว่า เกิดพร้อม. ศัพท์ สมฺปยุตฺต แปลว่า ประกอบ. สหปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, โต, มฺโลโป. ที่เป็นกิริยากิตก็แปลว่า ไปร่วมกันแล้ว ไปแล้วด้วยกัน, ฯลฯ.
  48. สาขา : (อิต.) กิ่ง, กิ่งไม้, ก้าน, สิ่งย่อย, ส่วนย่อย, ห้วย. สาขฺ พฺยาปเน, อ. ส. ศาขา.
  49. สิงฺค : (นปุ.) เขา (อวัยวะที่ตั้งอยู่ที่ศรีษะ), เขาสัตว์, นอ (สิ่งที่งอกอยู่เหนือจมูกแรด), งา, งาช้าง. วิ. สยติ ปวตฺตติ มตฺถเกติ สิงฺคํ. สิ สเย, โค, นิคฺคหิตาคฺโม, สิ เสวายํ วา.
  50. สิปฺป : (นปุ.) สิปปะ ศิลปะ. วิชาความรู้ที่ได้มาจากการศึกษาทุกอย่าง ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการประกอบกิจเลี้ยงชีวิตในทางสุจริต เรียกว่า สิปปะ หรือ ศิลปะตามภาษาสันสกฤต พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นมงคลคือเหตุที่ทำให้ผู้ปฏิบัติตามถึงความเจริญ เป็นมงคลที่ ๘ ในมงคล ๓๘ . สิกฺขฺ วิชฺโชปาทาเน, ปฺปปจฺจโย, กฺขฺโลโป, สิ สยเสวาสุ วา, ปฺปปจฺจโย, สปฺปฺ คติยํ วา, อ, อสฺสิ. คำ ศิลปะ ไทยใช้ความว่าฝีมือทางการช่าง ที่ผู้ทำทำได้คล่องแคล่วกว่า หรือดีเด่นกว่า งดงามกว่าช่างด้วยกันหรือสิ่งที่สำเร็จจากฝีมือนั้น ทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจได้ดีกว่าช่างอื่น. ส. ศิลฺป.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-250 | 251-277

(0.0400 sec)