Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สิ่งกีดขวาง, กีดขวาง, สิ่ง , then กีดขวาง, สง, สงกดขวาง, สิ่ง, สิ่งกีดขวาง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สิ่งกีดขวาง, 277 found, display 51-100
  1. ขคฺค : (ปุ.) กระบี่, ดาบ, พระขรรค์ ชื่อศัตราวุธ ชนิดหนึ่ง มีคมสองข้าง กลางของความกว้างนูน ปลายแหลม, พระขรรค์ชัยศรี. คำชัยศรีเป็นคำใช้ประกอบชื่อของสิ่งต่างๆ ที่ถือว่าเป็นมงคล. ขคฺคฺ ขณฺฑเภเท, อ. ส. ขฑฺคฺ.
  2. ขนฺธาวาร : (ปุ.) สถานที่เป็นที่กั้นด้วยท่อนไม้, ประเทศล้อมโดยรอบด้วยสิ่งทั้งหลายมีท่อน ไม้เป็นต้น, ทั้พรั้ง (การระวังรักษาทัพ), กองทัพ, ทัพไชย, ค่าย. วิ. ทารุกฺ ขนฺธาทีหิ อา สมนฺตโต วรนฺติ ปริกฺขิปนฺติ เอตฺถาติ ขนฺธาวาโร. ขนฺธ อา ปุพฺโพ, วรฺ อาวรณอจฉาทเนสุ, โณ.
  3. ขาทิตตฺต : นป. ความเป็นสิ่งอันเขาเคี้ยวกินแล้ว, การถูกเคี้ยวกินแล้ว
  4. เขฏก : (นปุ.) โล่ (เครื่องป้องกันศัตราวุธ), ดั้ง (เครื่องมือสำหรับป้องกันอาวุธ รูป คล้ายกาบกล้วย), เขน (เครื่องมือสำหรับ ป้องกันอาวุธ รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า), แพน (สิ่งที่มีลักษณะเป็นแผ่น สำหรับคัดท้าย แพและซุง เป็นต้น). เขฏฺ ภกฺขเณ, ณฺวุ.
  5. คพฺโภทร : (นปุ.) เนื้อนี้ของโค วิ. คุนฺนํ อิทํ มํสํ คพฺยํ. ย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๕. สิ่งนี้มีอยู่ในวัว วิ. คเว ภวํ คพฺยํ. ณฺย ปัจ. ชาตาทิตัท. รูปฯ ๓๖๓.
  6. ฆานินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่ในการสูดดม อินทรีย์คือจมูก, ฆานินทรีย์ (สิ่งที่เป็น ใหญ่ในหน้าที่ดม).
  7. จกฺก : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งการไป วิ. กโรติ คมน มเนนาติ จกฺกํ. กรฺ กรเณ, อ. เทว๎ภาวะ ก แล้วแปลง ก เป็น จ แปลง ก ตัวธาตุเป็น กฺก ลบที่สุดธาตุ. วัตถุอันหมุน ไป, ล้อ, ล้อรถ. จกฺ ปริวตฺตเน, โก. เสนา (พล กองพล), พล, กองพล, กองทัพบก. วิ. กรียเต วิคฺคโห อเนนาติ จกฺกํ. จักรชื่อ เครื่องประหารอย่างหนึ่ง มีรูปกลม มีแฉก โค้งโดยรอบ. วิ. จกฺเกติ พยฺถติ หึสติ เอเตนาติ จกฺกํ. จกฺกฺ พฺยถเน, อ. จักร ชื่อ สิ่งที่มีรูปกลม มีฟันเฟืองโดยรอบ, สมบัติ ,คุณสมบัติความดี,ความเจริญ, เครื่องหมาย , ลักษณะ( ลายจักรที่ฝ่าเท้าของคนมีบุญ ) ,ธรรม (ธรรมจักร), ข้อสั่งสอน, คำสั่งสอน จักร(มณฑลหรือวงรอบ), อุ อาณาจักร, ทาน(ไทยธรรม), กอง, ส่วน, คำ, “จักร” ไทย ใช้เรียกชื่อเครื่องกล เช่น เครื่องจักร รถจักร เป็นต้น. ส. จกฺร.
  8. จกฺขุนฺทฺริย : (นปุ.) อินทรีย์คือจักษุ, จักขุน ทรีย์ (สิ่งที่เป็นใหญ่ในการเห็น).
  9. จตฺตตฺต : นป. ความเป็นสิ่งที่ถูกสละ, ความเป็นสิ่งที่ถูกทอดทิ้ง, การบริจาค
  10. จตุรุสฺสท : ค. หนาแน่นด้วยเหตุสี่ประการ, พรั่งพร้อมด้วยสิ่งประกอบสี่อย่าง คือ ประชาชน, ข้าว,ไม้, และน้ำ
  11. จสก : (ปุ.) ขัน (ภาชนะสำหรับตักหรือใส่น้ำ), จอก (ภาชนะเล็กๆสำหรับตักน้ำในขัน ใหญ่), กระบวย (ภาชนะสำหรับตักน้ำทำ ด้วยกะลามะพร้าว มีด้ามถือ ทำด้วยสิ่ง อื่นๆบ้าง), แก้วน้ำ. จสฺ ภกฺขเณ, อ, สตฺเถโก. อภิฯ และฎีกาฯ ลง ณฺวุ ปัจ.
  12. จาคาธิฏฐาน : ป. ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจคือจาคะ, ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจคือการสละสิ่งที่เป็นข้าศึกแก่ความจริงใจ (อธิษฐานธรรมอย่างหนึ่งในอธิษฐานธรรมสี่)
  13. จาริตฺต : (นปุ.) ความประพฤติ, ความสมสู่ อู่. จาริตฺตํ อาปชฺชิตฺวา ถึงความสมสู่, จารีต. รูปฯ ๖๕๑ ให้ วิ. ว่า จริตานํ คโณ จาริตฺตํ. อถวา, จรนฺติ ตสฺมึ ปริปูริการิตายาติ จาริตฺตํ. จรฺ จรเณ, ณิตฺตปจฺจโย. ไทย จารีต คือสิ่งที่ประพฤติต่อๆ กันมาประเพ ณีที่ถือสืบต่อกันมาหรือการปฏิบัติที่ทำเป็น ประจำ มักพูดว่า จารีตประเพณีใครฝ่าฝืน ถือว่าเป็นผิดเป็นชั่ว.
  14. จิงฺคุลก : (ปุ.) กังหัน, ไม้กังหัน (สิ่งที่ประกอบ ด้วยใบพัด หมุนได้ด้วยกำลังลม). จิงฺคุลฺ ปริพฺภมเน, ณฺวุ.
  15. จิณฺณตฺต : นป. ความเป็นสิ่งที่เคยประพฤติมา, ธรรมเนียม, ประเพณี, นิสัย
  16. จิตฺตกิเลส : ป. สิ่งที่ทำให้จิตเศร้าหมอง, ความเศร้าหมองแห่งจิต
  17. จิตฺตตา : อิต. จิตฺตตฺต นป. ความเป็นสิ่งวิจิตร, ความเป็นสิ่งสวยงาม
  18. จิตฺตทุพฺภก : ป. สภาวธรรมอันประทุษร้ายจิต, สิ่งที่ทำลายจิตใจ, จิตใจชั่วร้าย
  19. เจติย : (ปุ.) เทวาลัย, ถูป (เจดีย์), สตูป (เป็นภา ษาสันสกฤต), สถูป (มาจาก สตูป แปลง ต เป็น ถ), เจดีย์ ชื่อสิ่งที่ก่อสร้างขึ้น มีรูป คล้ายลอมฟาง มียอดแหลม สำหรับบรรจุ สิ่งที่เคารพนับถือ สิ่งอื่นๆ เช่นต้นไม้ เป็น ต้นที่นับถือ (เชื่อว่า) มีเทวดาสถิตอยู่ ก็นับ เข้าเจดีย์ได้. วิ. เจตพฺพนฺติ เจติยํ. จิตฺ ปูชายํ, โณฺย. อิอาคโม. ย ฐาน ชเนหิ อิฏฺฐกาทีหิ เจตพฺพ ตสฺมา ต ฐาน เจติย. จิตฺจยเน, ณฺย, อิ อาคโม.
  20. ฉายา : (อิต.) เค้า คือสิ่งที่เป็นเครื่องกำหนด หมายให้รู้ สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ว่ามีลักษณะ เหมือนสิ่งอื่น, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณที่ไม่ถูกแดดไม่ถูกฝน), รูป, รูป เปรียบ, แสงสว่าง, ฉายา คือ ชื่อที่พระ – อุปัชฌายะตั้งให้เป็นภาษามคธเมื่ออุปสม – บท. วิ. เฉติ สํสยนฺติ ฉายา. ฉา เฉทเน, โย. ฉินฺทติ ปริสฺสมนฺติ วา ฉายา. ไทยใช้ เรียกชื่อภาษาไทยที่ตั้งกันเล่นๆตามลักษ – ณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ เช่น เปี๊ยก ว่ามี ฉายาว่า นายเปี๊ยก นอกจากนี้ยังหมายถึง นางผู้โฉมงามหรือเมียอีกด้วย.
  21. เฉทนก : ๑. นป. สิ่งที่ต้องตัดให้ถูกต้องตามวินัยกรรม, วิธีการตัดให้ถูกต้องตามวินัยกรรม ; ๒. ผู้ตัด, ผู้บั่น, ผู้ทอน, ผู้ฉีก
  22. ชคติรห : ป. ต้นไม้, สิ่งที่ขึ้นบนแผ่นดิน
  23. ชฏา : (อิต.) ผมเกล้า, ผมที่เกล้า, เกล้าผม, มวยผม (ผมที่เกล้าเป็นมวยสูงขึ้น), ผม เกล้าของดาบส, เทริด ชื่อเครื่องประดับ ศรีษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า, เชิง คือตีน ซึ่งเป็นฐานที่ตั้งของบางสิ่ง บางอย่าง ชายหรือปลายของบางสิ่ง บางอย่าง, ความยุ่ง, ความรุงรัง, ความรก, ชัฏ ( ป่ารก ป่าทึบ เชิง ), ชฎา ชื่อเครื่อง สวมศรีษะ คล้ายมงกุฎ. ชฏฺ ชฏเน สงฺฆาเต วา, อ. ส. ชฎา.
  24. ชตุมฏฺฐก : นป. สิ่งที่ปิดด้วยครั่ง, สิ่งที่ประทับครั่ง
  25. ชนาลย : (ปุ.) ปะรำ ชื่อของสิ่งปลูกสร้างทำ ขึ้นชั่วคราว มีเสาหลังคาแบน ดาดด้วยผ้า หรือสิ่งอื่นๆ, มณฑป ชื่อของเรือนยอดรูป สี่เหลี่ยม วิ. ชนาน มาลโย สนฺนิปาตฏฺฐานํ ชนาลโย.
  26. ชมฺภนา : (อิต.) การเหยียด (ทำสิ่งที่งอให้ตรง), การเหยียดกาย. ชภิ คตฺตวิมาเน, ยุ, นิคคหิตาคโม.
  27. ชานนีย : ค. อันเขาพึงรู้, สิ่งที่ควรรู้, ซึ่งน่ารู้
  28. ชีวิตปริกฺขาร : ป. บริขารแห่งชีวิต, สิ่งที่จำเป็นแก่ชีวิต, สิ่งที่ชีวิตต้องอาศัยเป็นอยู่
  29. ฐกฺกุร : นป. สิ่งที่ควรเคารพ, รูปที่ควรเคารพ
  30. ฐานาฐาน : (นปุ.) ความเป็นไปได้และความเป้นไปไม่ได้, สิ่งที่เป็นไปได้และสิ่งที่เป็น ไปไม่ได้, ฐานะและอฐานะ.
  31. : (ไตรลิงค์) เป็นปุริสสัพพนามและวิเสสน- สัพพนาม ต ศัพท์ที่เป็นปุริสสัพพนามเป็น ประถมบุรุษสำหรับออกชื่อคนและสิ่ง ของ ซึ่งผู้พูดออกชื่อถึง แปลว่า ท่าน เธอ เขา มัน นาย นาง เป็นต้น ต ศัพท์ที่ เป็นวิเสสนสัพพนาม แปลว่า นั้น.
  32. ตโตนิทาน : ก. วิ. มีสิ่งนั้นเป็นเหตุ, เนื่องด้วยสิ่งนั้น
  33. ตทตฺถ : (อัพ. นิบาต) ความพยายามเพื่อประ – โยชน์แก่สิ่งนั้น วิ. ตสฺส อตฺถาย ตทตฺโถ (วายาโม). การทำเพื่อประโยชน์แก่สิ่งนั้น. ตทตฺถา (ภาวนา). จ.ตัป. รูปฯ ๓๓๖. ท หลัง ต ทั้ง ๕ ศัพท์นั้น คือ ทฺ อาคม.
  34. ตทนุรูป : ค. สมควรแก่สิ่งนั้น, เหมาะสม
  35. ตทาตฺต ตทาตวฺ : (นปุ.) สิ่งอันเกิดแล้วในกาล นั้น วิ. ตสฺมึ เยว กาเล ชาตํ ตทาตฺตํ ตทาตฺวํ วา. ศัพท์หลังแปลง ต เป็น ว.
  36. ตทุปิย : ค. เหมาะแก่สิ่งนั้น, สมควร, เหมาะเจาะ
  37. ตทุเปต : ค. อันเข้าถึงสิ่งนั้น, ประกอบด้วยสิ่งนั้น
  38. ตทุเปตนิสา : (อิต.) คืนเดือนหงาย, คืนที่ค้น หาสิ่งที่ต้องการนั้นได้. ต+อุเปต+นิสา ทฺ อาคม.
  39. ตปฺปร : (วิ.) ผู้มีสิ่งนั้น ๆ เป็นประธาน, ผู้มี ความเพียร, ผู้เอาใจใส่, ผู้ตั้งหน้า, ผู้ตั้ง หน้าตั้งตา (ตั้งใจทำ ทำอย่างจริงจัง ทำ อย่างมุ่งมั่น). วิ. ตํ ตํ จตฺถุ ปรํ ปธาน มสฺสาติ ตปฺปโร ลบ ต หนึ่งศัพท์.
  40. ตพฺพิปกฺข : ค. ซึ่งเป็นปฏิปักษ์ต่อสิ่งนั้น, ตรงกันข้ามกับสิ่งนั้น
  41. ตพฺพิปรีต : ค. ซึ่งต่างกันกับสิ่งนั้น, ซึ่งไม่เหมือนกันกับสิ่งนั้น
  42. ตพฺพิสย : ค. มีสิ่งนั้นเป็นข้ออ้าง, มีสิ่งนั้นเป็นขอบเขต
  43. ติสรณ : (นปุ.)ที่พึ่งสาม,สรณะสาม,ไตรสรณะ. ไตรสรณะคือ พระพุทธ พระธรรม และ พระสงฆ์ เป็นสรณะที่พึ่งสูงสุดของพุทธ ศาสนิกชน ๆ จะนับถือสิ่งอื่นสูงกว่าหรือ เทียบเท่าพระรัตนตรัยไม่ได้ ถือว่าขาด จากพระรัตนตรัย. ส. ไตรสรณ.
  44. ตีรณ ตีรน : (วิ.) ตรวจตรา,ตริตรอง,เทียบ ทาน ( หาเหตุผล). หาเหตุผล, สอบสวน, พิจาร, พิจารณา,ตัดสิน, วัด ( สอบขนาด หรือปริมาณของสิ่งนั้นๆ). ตีรฺ กมฺมสาม ตฺถิเย, ยุ.
  45. ตุงฺคี : (ปุ.) เงื้อม งะเงื้อม ( สิ่งที่สูงง้ำออกมา), เชิงผา, กลางคืน, ขมิ้น, สิ่งที่แฉลบ เหมือนกบไสไม้ ? ตุชฺ หึสาสหเณสุ, อี.
  46. โถก, โถกก : ค., นป. นิดหน่อย, น้อย, เล็กน้อย, ไม่สำคัญ; สิ่งเล็กๆ น้อยๆ
  47. ทกฺขิณาวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) การเวียนไปทางขวา, ความเวียนไปทางขวา, การเวียนขวา, ทักษิณาวัฏ , ทักษิณาวรรต. การเดิน เวียนขวา เป็นการแสดงความเคารพ อย่างหนึ่ง. เวียนขวาหรือการเวียนขวา นั้น คือสิ่งที่เราจะเวียนอยู่ขวามือของเรา. ส. ทกฺษิณาวรฺต.
  48. ทพฺพสมฺภาร : (ปุ.) การรวบรวมเครื่องใช้ต่างๆ (เพื่อก่อสร้าง), ทัพพสัมภาระ (เครื่องไม้ และสิ่งอื่นๆ ที่คุมกันเข้าเป็นเรือน เป็นต้น วัตถุสำหรับก่อสร้าง).
  49. ทฺวิภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งของสองสิ่ง วิ. ทฺวินฺนํ ภาโว ทฺวิภาโว. ฉ. ตัป.
  50. ทิคฺฆิกา : (อิต.) คู ชื่อที่ดินที่ขุดเป็นคลอง หรือล่องเพื่อล้อมเป็นสิ่งที่ต้องการล้อม วิ. ทีฆภาเวน ยุตฺตตฺตา ทิคฺฆิกา. เป็น ทีฆิกาบ้าง.
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-277

(0.0453 sec)