Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทุกข์ร้อน, ทุกข์, ร้อน , then ทกข, ทุกข, ทุกข์, ทุกข์ร้อน, รอน, ร้อน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทุกข์ร้อน, 280 found, display 101-150
  1. ทุกฺขนิโรธคามินี : ค. (ปฏิปทา) ซึ่งยังผู้ปฏิบัติให้ถึงซึ่งความดับแห่งทุกข์
  2. ทุกฺขนิโรธคามินีปฏิปทา : (อิต.) ปฏิปทาอัน ยังผู้ปฏิบัติให้ถึงซึ่งความดับทุกข์, ทางดำเนินอันยังสัตว์ให้ถึงความดับทุกข์, ข้อปฏิบัติอันยังผู้ปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ชื่ออริยสัจ ๔ ข้อที่ ๔.
  3. ทุกฺขปฏิกฺกูล : ค. ผู้เกลียดทุกข์
  4. ทุกฺขปฺปตฺต : ค. ผู้ถึงแล้วซึ่งทุกข์, ผู้ประสพความทุกข์
  5. ทุกฺขปฺปหาน : นป. การละทุกข์
  6. ทุกฺขปริชานนาทิกิจฺจ : (นปุ.) กิจมีอัน กำหนดรู้ซึ่งทุกข์เป็นต้น. เป็นวิเสสนบุพ. กัม. มี ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นภายใน.
  7. ทุกฺขปเรต : (วิ.) มีทุกข์ถึงแล้วในเบื้องหน้า, อันทุกข์ถึงรอบแล้ว, อันทุกข์ครอบงำแล้ว.
  8. ทุกฺขเมสี : ค. ผู้แสวงหาทุกข์, ผู้แส่หาทุกข์ใส่ตัว
  9. ทุกฺขวาจา : อิต. วาจาที่ก่อให้เกิดทุกข์, คำพูดก้าวร้าว
  10. ทุกฺขวิปาก : ค. มีวิบากเป็นทุกข์, มีทุกข์เป็นผล
  11. ทุกฺขเวทนา : (อิต.) ความเสวยอารมณ์อันเป็น ทุกข์, ความรู้สึกลำบาก, ไทยใช้ทุกขเวทนาในความว่ารู้สึกลำบาก รู้สึกเจ็บปวด.
  12. ทุกฺขสจฺจ : นป. ความจริงคือทุกข์, สิ่งที่เป็นทุกข์จริง, ความจริงแห่งทุกข์
  13. ทุกฺขสญฺญา : อิต. ความหมายรู้ว่าเป็นทุกข์, ความสำคัญว่าเป็นทุกข์
  14. ทุกฺขสมฺผสฺส : ค. มีสัมผัสเป็นทุกข์
  15. ทุกฺขสมฺผสฺสตา : อิต. ความเป็นสิ่งมีสัมผัสเป็นทุกข์
  16. ทุกฺขสมุทย : (ปุ.) ความตั้งขึ้นพร้อมแห่งทุกข์, ความเกิดขึ้นแห่งทุกข์, เหตุให้เกิดทุกข์, ทุกขสมุทัย ชื่ออริยสัจ ๔ ข้อที่ ๒.
  17. ทุกฺขเสยฺยา : อิต. การนอนอันเป็นทุกข์, การนอนไม่สบาย
  18. ทุกฺขาธิวาห : (ปุ.) ธรรมชาตผู้ซึ่งนำไปซึ่งทุกข์ อันยิ่ง, ความนำไปยิ่งซึ่งทุกข์.
  19. ทุกฺขานุภวน : นป. การเสวยทุกข์, การได้รับความทุกข์ทรมาน
  20. ทุกฺขาปคม : ป. การไปปราศจากความทุกข์, การหลีกออกจากทุกข์, การเปลื้องทุกข์
  21. ทุกฺขาปน : นป. การทำผู้อื่นให้เป็นทุกข์, การก่อทุกข์
  22. ทุกฺขาปิต : กิต. (อันเขา) ทำให้เป็นทุกข์, อันก่อทุกข์ให้
  23. ทุกฺขาเปติ : ก. ทำให้เป็นทุกข์, ก่อทุกข์ให้
  24. ทุกฺขาภิกิณฺณ : ค. ซึ่งเกลื่อนกล่นด้วยทุกข์, ซึ่งมีทุกข์มาก
  25. ทุกฺขาสหนตา : อิต. ความไม่อดทนต่อความทุกข์, ความทนต่อความยากลำบากไม่ได้
  26. ทุกฺขินฺทฺริย : นป. อินทรีย์คือทุกข์, อินทรีย์ที่รับรู้ทุกข์, ทุกขเวทนาทางกาย
  27. ทุกฺขียติ : ก. เป็นทุกข์; ลำบาก, คับแค้น
  28. ทุกฺขุทฺรย : ค. มีทุกข์เป็นกำไร, มีผลลัพธ์เป็นทุกข์
  29. ทุกฺขูปธาน : นป. การเข้าไปตั้งไว้ซึ่งความทุกข์, การก่อทุกข์
  30. ทุกฺขูปสม : ป. ความเข้าไปสงบแห่งทุกข์, ความหมดทุกข์
  31. ทุกฺโขติณฺณ : ค. ผู้ถูกทุกข์ท่วมทับ, ผู้ถูกทุกข์ครอบงำ, ผู้ตกทุกข์
  32. ทุกฺวิปาก : (วิ.) มีทุกข์เป็นผล, มีทุกข์เป็นวิบาก.
  33. ทุสสย : (ปุ.) การนอนเป็นทุกข์.
  34. ทุสฺสย : (วิ.) อัน...ย่อมนอนเป็นทุกข์, นอน เป็นทุกข์. วิ. ทุกฺเขน สียติ ทุสฺสโย. ข ปัจ. รูปฯ ๕๘๙.
  35. โทมนสฺสปตฺต : ค. ผู้ถึงแล้วซึ่งโทมนัส, ผู้ประสพความทุกข์ใจ, ผู้เป็นทุกข์ใจ
  36. โทมนสฺสุปวิจาร : ป. การไตร่ตรองถึงอารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งโทมนัส, การใคร่ครวญถึงอารมณ์ที่ก่อให้เกิดความทุกข์ใจ
  37. ธุปิต : ค. ปิ้ง, จี่, ทำให้ร้อน
  38. นาก : (ปุ.) ประเทศไม่มีทุกข์, แดนไม่มีทุกข์, นากะ ชื่อสวรรค์ชื่อ ๑ ใน ๕ ชื่อ, สวรรค์. วิ. นตฺถิ อกํ ทุกขํ เอตฺถาติ นาโก. นตฺถิ+อก ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ลบ ตฺถิ. ส. นาก.
  39. นิคฺคติก : ค. มีเคราะห์กรรมร้าย, ซึ่งเคราะห์ร้าย, อันเลวร้าย, ซึ่งทุกข์ยาก
  40. นิชฺฌายติ : ก. ตรึกตรอง, คิด; หมดไป, สิ้นไป; ถูก (ความทุกข์) แผดเผา
  41. นิตฺถรก นิตฺกรณก : (วิ.) ผู้ช่วย, ช่วยเหลือ, ผู้รื้อ, ผู้รื้อถอน, ผู้ถอนออก, ผู้ถอนตน ออกจากทุกข์.
  42. นิทาฆ : (ปุ.) ฤดูร้อน, ฤดูแล้ง, หน้าร้อน. วิ. นิทหนฺเต อสฺมินฺติ นิทาโฆ. ความร้อน, ความอบอ้าว, เหงื่อ. นิปุพฺโพ, หทฺ ภสฺมีกรเณ, โณ, หสฺส โฆ. ส. นิทาฆ.
  43. นิพฺพาณ นิพฺพาน : (นปุ.) ธรรมอันออกแล้ว จากตัณหา, ธรรมอันออกแล้วจากตัณหา เครื่องร้อยรัด, ธรรมอันออกไปแล้วจาก ตัณหาเครื่องร้อยรัด. วิ. วาฯโต วานโต วา นิกฺขนฺตํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. รูปฯ วิ. วานโต นิกฺขนฺตํ นิพฺพานํ. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ความออกจากตัณหา, ความออกไปจากตัณหา, ฯลฯ. วิ. วาณโต วานโต วา นิกฺขมนํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. ธรรมออกแล้วจากวานะ, จิตออกแล้วจาก วานะ. วิ. นิกฺขนตํ วานโต นิพฺพานํ. นตฺถิ วา เอตฺถ วานํ นิพฺพานํ อัฏฐกถาปรมัตถ- ทีปนี. ความสงบ ความดับ ความดับสนิท (ของจิต). นิปุพฺโพ, วา อุปสเม, ยุ. ธรรม ปราศจากเครื่องรัอยรัด, จิตปราศจาก เครื่องร้อยรัด. นิปพฺโพ, วิ สํสิพฺพเน, ยุ. ความดับด้วยอันสำรอกโดยไม่เหลือ เพราะสิ้นตัณหาโดยประการทั้งปวง, ความดับสนิทจากกิเลสและกองทุกข์, แดนอันปราศจากสังขาร (เครื่องปรุงแต่ง), นิพพาณ, นิพพาน, พระนิพพาณ, พระ นิพพาน. วิ. นิพฺพายนนฺติ อริยชนา เอตสฺมินฺติ นิพฺพานํ. นิพฺพายนฺติ สพฺเพ วฏฺฏทุกฺขนสนฺตาปา เอตสฺมินฺติ วา นิพฺพานํ. ส. นิรฺวาณ.
  44. นิพฺพาติ : ก. พัด, ทำให้เย็น, ทำให้หมดความเร่าร้อน, ดับกิเลส, ดับทุกข์
  45. นิพฺพิทาญาณ : (นปุ.) ความรู้ในความเบื่อ หน่าย, นิพพิทาญาณ คือความรู้ทำให้ เกิดความเบื่อหน่ายในกองทุกข์.
  46. นิยฺยานิกธมฺม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องนำออก, ธรรมอันนำสัตว์ออกจากทุกข์. ธรรม อันนำสัตว์ออกจากวัฏสงสาร (ได้แก่ อริยมรรค ๔).
  47. นิรยทุกฺข : นป. ทุกข์ในนรก
  48. นีฆ : ป. ความระทมทุกข์, ความยุ่งยากใจ
  49. ปกฺกฏฺฐิต : กิต. ร้อน, เดือด, ดุ
  50. ปจฺจติ : ก. อันเขาหุงต้ม, ย่อมได้รับทุกข์
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-200 | 201-250 | 251-280

(0.0404 sec)