Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ครั้งนั้น, ครั้ง, นั้น , then ครง, ครั้ง, ครั้งนั้น, นน, นั้น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ครั้งนั้น, 304 found, display 101-150
  1. ตถารูป : (วิ.) มีรูปอย่างนั้น, ฯลฯ, มีอย่างนั้น เป็นรูป, ฯลฯ.
  2. ตถาวาที : ค. ผู้กล่าวเช่นนั้น, กล่าวอย่างนั้น
  3. ตถาวิธ : ค. เหมือนอย่างนั้น, เช่นนั้น, ดังนั้น, อย่างนั้น
  4. ตถา หิ : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้นแล, เพราะเหตุ นั้น, จริงอย่างนั้น.
  5. ตถา เอว ตเถว : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้น, อย่างนั้น นั่นเที่ยว, เหมือนอย่างนั้น.
  6. ตถูปม : ค. มีอุปมาเช่นนั้น, มีอย่างนั้นเป็นเครื่องเปรียบ, เหมือนอย่างนั้น
  7. ตทงฺค : ๑. นป. องค์นั้น, ส่วนนั้น; ๒. ค. ชั่วเวลา, ชั่วคราว, ชั่วขณะ
  8. ตทงฺคนิพพาน : (นปุ.) ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมีปฐมฌานเป็นต้น อัฏฐกถาให้ วิ. ว่า ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน นิพพานํ ตทงฺคนิพพานํ. ตทงฺคนิพพาน ศัพท์นี้มีในไตร. ๒๓ ข้อที่ ๕0 สูตรที่ ๙ แห่งปญจาลวรรค. ไม่ควรแปลว่า นิพพาน ชั่วขณะ ดังที่อาจารย์บางท่านแปล ควร แปลว่า ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌาน มี ปฐมฌาน เป็นต้น ตามที่อัฏฐกถาจารย์ ตั้ง วิ. ไว้ เพราะว่า “นิพพาน” นับเป็น ๑ ในโลกุตตรธรรม ๙ ไตร. ๓๑ ข้อ ๖๒0 และชาวพุทธฝ่ายเถรวาท ใช้คำ นิพพาน เป็นชื่อของจิตที่ดับกิเลสเป็นสมุจเฉทป – หานด้วยอริยมรรคที่ ๔ เป็นอกุปปา – วิมุตติอย่างเดียว เพราะฉะนั้น นิพพาน ชั่วขณะจึงไม่มี ขอฝากนักปราชญ์รุ่นหลัง ผู้หวงแหนพระพุทธศาสนาด้วย.
  9. ตทงฺคปหาน : (นปุ.) การละด้วยองค์นั้น ๆ วิ. เตน เตน องฺเคน ปหานํ ตทงฺคปหานํ. การละกิเลสด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมี ปฐมฌานเป็นต้น วิ. ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน ปหานํ ตทงฺคปหานํ. การละ กิเลสด้วยสามารถแห่งองค์นั้น ๆ ของฌาน มีปฐมฌานเป็นต้น. วิ. ปฐมฌานาทิสฺส ตสฺส ตสฺส องฺคสฺส วเสน กิเลสสฺส ปหานํ. การละชั่วคราว.
  10. ตทตฺถ : (อัพ. นิบาต) ความพยายามเพื่อประ – โยชน์แก่สิ่งนั้น วิ. ตสฺส อตฺถาย ตทตฺโถ (วายาโม). การทำเพื่อประโยชน์แก่สิ่งนั้น. ตทตฺถา (ภาวนา). จ.ตัป. รูปฯ ๓๓๖. ท หลัง ต ทั้ง ๕ ศัพท์นั้น คือ ทฺ อาคม.
  11. ตทฺธิต : (นปุ.) ตัทธิต ชื่อบาลีไวยากรณ์แผนก หนึ่ง ลงปัจ. ไว้ที่ศัพท์หน้าแทนศัพท์หลัง ที่ลบ เพื่อทำคำพูดให้สั้นลง วิ. ตสฺส อตฺสฺส หิตํ ตทฺธิตํ (ปจฺจยชาตํ) แปลว่า ปัจจัยเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่เนื้อความนั้น. เป็น ฉ.ตัป. แปลง ห เป็น ธ ซ้อน ทฺ.
  12. ตทนฺตเร : ก. วิ. ในระหว่างนั้น
  13. ตทนุรูป : ค. สมควรแก่สิ่งนั้น, เหมาะสม
  14. ตทห : (นปุ.) วันนั้น. ต+อห ทฺ อาคม.
  15. ตทห, - หุ : นป. วันนั้น, วันเดียวกัน
  16. ตทาตฺต : นป. กาลนั้น, เวลานั้น
  17. ตทารมฺมณ : นป. อารมณ์นั้น
  18. ตทุปิย : ค. เหมาะแก่สิ่งนั้น, สมควร, เหมาะเจาะ
  19. ตทุเปต : ค. อันเข้าถึงสิ่งนั้น, ประกอบด้วยสิ่งนั้น
  20. ตทุเปตนิสา : (อิต.) คืนเดือนหงาย, คืนที่ค้น หาสิ่งที่ต้องการนั้นได้. ต+อุเปต+นิสา ทฺ อาคม.
  21. ตปฺปร : (วิ.) ผู้มีสิ่งนั้น ๆ เป็นประธาน, ผู้มี ความเพียร, ผู้เอาใจใส่, ผู้ตั้งหน้า, ผู้ตั้ง หน้าตั้งตา (ตั้งใจทำ ทำอย่างจริงจัง ทำ อย่างมุ่งมั่น). วิ. ตํ ตํ จตฺถุ ปรํ ปธาน มสฺสาติ ตปฺปโร ลบ ต หนึ่งศัพท์.
  22. ตโปธน : (วิ.) ผู้มีความเพียรเผาบาปเป็นทรัพย์ วิ. ตโป ธนํ อสฺสาติ ตโปธโน. ผู้มีทรัพย์ คือตบะ ผู้มีตบะนั้นแหละเป็นทรัพย์. วิ. ตโป เอว ธนํ อสฺสาติ ตโปธโน. ฉ. พหุพ. รูปฯ ๓๗๗.
  23. ตพฺพิปกฺข : ค. ซึ่งเป็นปฏิปักษ์ต่อสิ่งนั้น, ตรงกันข้ามกับสิ่งนั้น
  24. ตพฺพิปรีต : ค. ซึ่งต่างกันกับสิ่งนั้น, ซึ่งไม่เหมือนกันกับสิ่งนั้น
  25. ตพฺพิสย : ค. มีสิ่งนั้นเป็นข้ออ้าง, มีสิ่งนั้นเป็นขอบเขต
  26. ตพฺภาว : ป. ความเป็นอย่างนั้น, ธรรมชาติที่เป็นจริง
  27. ตมุหุตฺต : (ปุ.) ครู่หนึ่งนั้น, กาลครู่หนึ่งนั้น.
  28. ตรหิ : อ. ในกาลนั้น, เมื่อนั้น
  29. ตสฺมา : อ. เพราะฉะนั้น, เพราะเหตุนั้น
  30. ตสฺสปาปิยสิกากมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์ พึงทำแก่ภิกษุรูปนั้นผู้เป็นบาป (ปกปิด ความประพฤติชั่วของตนด้วยการพูดเท็จ).
  31. ตห, ตหึ : ก. วิ. ในนั้น, ที่นั้น
  32. ตาทิน, ตาทิส, ตาทิสก, ตาที : ค. ซึ่งคงที่, ซึ่งเป็นเช่นนั้น, ซึ่งเหมือนอย่างนั้น
  33. ตาทิภาว : ป. ความเป็นผู้คงที่, ความเป็นเช่นนั้น
  34. ตาทิลกฺขณ : นป. ลักษณะแห่งความคงที่หรือเป็นเช่นนั้น
  35. ตาทิส ตาทิกฺข ตาริส ตาที : (วิ.) ผู้เช่นนั้น, ผู้คงที่. วิ. ต มิว นํ ปสฺสตีติ ตาทิโส (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นดังว่าบุคคลนั้น ). โ ส วิย ทิสฺสตีติ ตาทิโส ( เห็นราวกะว่าคนนั้น ). ต+ทิสฺ+กฺวิ ปัจ. แปลงที่สุดธาตุเป็น ส กฺข อี ทีฆะ อ ที่ ต เป็น อา ศัพท์ที่ ๓ แปลง ทฺ เป็น รฺ รูปฯ ๕๗๒ ส่วนโมคฯ สมาส กัณฑ์๘๘ ตั้ง ตุมฺห เป็นบทหน้า แปลว่า ผู้เช่นนบทหน้า ท่าน วิ. ตฺวมิว ทิสฺสตีติ ตาทิโส ตาทิกฺโข วา ตาริโส วา ตาที วา (เห็นราวกะว่าท่าน). แปลง ตฺวํ เป็น ตา.
  36. ตาว : (อัพ. นิบาต) ตราบนั้น, เพียงนั้น, เท่านั้น, โดยแท้, แน่แท้, ก่อน, แรก.
  37. ตาวก : (วิ.) มีประมาณเพียงนั้น, ฯลฯ. ตาว+ ก ปัจ. สังชยาตัท.
  38. ตาวกาลิก : (วิ.) ประกอบด้วยกาลมีประมาณ เพียงนั้น, ตั้งอยู่ชั่วขณะขอยืม, ชั่วเวลา ขอยืม.
  39. ตาวตก : (วิ.) มีประมาณเพียงนั้น, ฯลฯ. วิ. ตํ อิว ปริมาณ มสฺส ตาวตกํ ต+อาวตก ปัจ. รูปฯ ๖๓๙ วิ. ตํ ปริมาณ มสฺสาติ ตาวตกํ.
  40. ตาวตา : (อัพ. นิบาต) มีประมาณเพียงนั้น, มีประมาณเท่านั้น.
  41. ตาวตึสเทวนคร : (นปุ.) นครแห่งเทวดาชื่อ ดาวดึงส์. ฉ. ตัป. มี สัม. กัม. เป็นท้อง. ตาวเทว ( อัพ. นิบาตท ) เพียงนั้นนั่นเทียว. ตาว+เอว ทฺ อาคม.
  42. ตาวเทว : อ. เพียงนั้นนั่นเทียว, ในขณะนั้น; บัดนั้น
  43. ตาวนฺตุ : (วิ.) มีประมาณเท่านั้น, มีประมาณ เพียงนั้น. ต+อาวนฺตุ ปัจ. รูปฯ ๓๖๙ เป็น ต+วนฺตุ ปัจ. ทีฆะ อ ที่ ต เป็น อา. โมคฯ เป็นตาวนฺต.
  44. ตาวมหนฺต : (วิ.) ใหญ่เพียงนั้น, ใหญ่เท่านั้น.
  45. ติกฺขตฺตุ : (อัพ. นิบาต) สิ้นสามครั้ง, สิ้นสาม คราว, สิ้นสามหน. ติ+กฺขตฺตํ ปัจ. รูปฯ ๔๐๓. แปลเป็น กิริยาวิเสสว่า สามครั้ง, สามคราว, สามหน.
  46. ติกฺขตฺตุ : อ. สามครั้ง, สามคราว
  47. ติกปาจิตฺติย : (นปุ. อิต.) ติกปาจิตตีย์ คือ ปาจิตตีย์ ๓ ตัว ในสิกขาบทเดียวกัน คือ ขอจีวรจากบุคคลมิใช่ญาติ ๑ บุคคลนั้น มิได้ปวารณาไว้ ๑ ขอในสมัยที่มิได้ ทรงอนุญาตไว้ ๑ ดูสิกขาบทที่ ๖ แห่ง จีวรวรรค.
  48. ตุมฺห : (ปุ. อิต.) เจ้า, ท่าน, สู, เอง, มึง, พระ คุณเจ้า, พระคุณท่าน, มหาบพิตร, มหา- บพิตรพระราชสมภารเจ้า, ฯลฯ. ลูกพูดกับ พ่อแม่ แปลว่า พ่อ, แม่, คุณพ่อ, คุณแม่. ยังมีคำแปลอีกมากใช้ยักย้ายให้เหมาะสม กับฐานะของบุคคล ตุมฺหศัพท์เป็นบุรุษที่ ผู้พูดพูดกับคนใด ใช้สำหรับคนนั้น แจกรูปเหมือนกันทั้งสองลิงค์.
  49. เตน : (อัพ. นิบาต) เพราะ, ด้วยเหตุนั้น, เพราะเหตุนั้น. การณตฺเถ นิปาโต.
  50. เตนหิ : (อัพ. นิบาต) ถ้าอย่างนั้น.
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-304

(0.0459 sec)