Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ครั้งนั้น, ครั้ง, นั้น , then ครง, ครั้ง, ครั้งนั้น, นน, นั้น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ครั้งนั้น, 304 found, display 251-300
  1. อารกา : (อัพ. นิบาต) ไกล, ห่างเหิน, ห่างไกล, ในที่ไกล, แปลว่า ใกล้ก็มี แล้วแต่เนื้อความของประโยคนั้น ๆ.
  2. อาหารตฺถก : (ปุ.) อาหารัตถกะ ชื่อคน คนใด บริโภคอาหารจนไม่อาจลุกขึ้นได้โดยธรรมดาของตน จึงกล่าวว่าฉุดมือทีคนนั้น ชื่อ อาหารัตถกะ.
  3. อิติภวาภวกถา : (อิต.) เรื่องความเจริญและ ความเสื่อมด้วยประการนั้น
  4. อิทฺธ : (อิต.) ความเจริญ, ความงอกงาม, ความสำเร็จ, คุณเครื่องให้สำเร็จกิจนั้น ๆ, ฤทธิ์, เดช. อิธฺ วุฑฺฒิยํ, อิ, ทฺสํโยโค. คำฤทธิ์ ไทยใช้ในความหมายว่า อำนาจศักดิ์สิทธิ์ หรือการทำอะไร ๆ ได้พิเศษกว่าคนอื่น. ส. ฤทฺธิ.
  5. อีทิส อีทิกฺข อีริส อีริกฺข อีที : (วิ.) เช่นนี้ วิ. อิมมิว นํ ปสฺสตีติ อีทิโส (เห็นซึ่ง บุคคลนั้นราวกะว่าบุคคลนี้). อิม ศัพท์ ทิสฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ลบ ม แล้วทีฆะหรือแปลง อิม เป็น อิ แล้วทีฆะ ศัพท์ที่ ๒ และ ๔ แปลง ส เป็น กฺข ศัพท์ที่ ๓ และ ๔ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๕ แปลง ส เป็น อี กัจฯ ๖๔๒ รูปฯ ๕๗๒.
  6. อุตฺตริ, - ตรี : ก. วิ. ส่วนบน, ข้างบน, เหนือยิ่ง, กว่านั้น
  7. อุตฺตริมนุสฺสธมฺม : (ปุ.) ธรรมของมนุษย์ ผู้ยิ่ง, ฯลฯ, ธรรมอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, คุณอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, อุตตริมนุสธัม. อุตตริมนุษยธรรม คือคุณธรรม (ความดี ผล) อันเกิดจากการปฏิบัติสมถะ (สมาธิ) ถึงขั้นจิตเป็นอัปปนา หรือจากการปฏิบัติ วิปัสสนาถึงขั้นละกิเลสเป็นสมุจเฉท มีคำ เรียกคุณธรรมนั้น ๆ อีกหลายคำ พระพุทธ เจ้าทรงห้ามภิกษุอวด ปรับอาบัติขั้นสูงถึง ปาราชิก วิ. อุตฺตริมนุสฺสานํ ญายินญฺเจว อริยานญฺจ ธมฺโม อุตฺตริ มนุสฺสธมฺโม.
  8. อุปาทาน : (นปุ.) การถือมั่น การยึดมั่น (ในสิ่งนั้น ๆ), การยึดไว้, ความถือมั่น, ฯลฯ, ธรรมชาติเป็นเครื่องเข้าไปถือเอา, ของกำนัล ที่ส่งไปให้, เชื้อ, เชื้อไฟ, ฟืน. อุป อา ปุพฺโพ, ทา ทานอาทาเนสุ, ยุ. ส. อุปทาน. อุปาทานกฺขนฺธ
  9. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  10. เอกกฺขตฺต : (อัพ. นิบาต) คราวเดียว, คราว หนึ่ง, ครั้งเดียว, ครั้งหนึ่ง, หนหนึ่ง. สัมพันธ์เป็นกิริยาวิเสสนะ, สิ้นคราวเดียว, ฯลฯ. กฺขตฺตํปัจ. ลงในวารอรรถรูปฯ ๔๐๓. สัมพันธ์เป็น อัจจันตสังโยค.
  11. เอกทตฺถุ : ก. วิ. ครั้งหนึ่ง, โดยเฉพาะ
  12. เอกทา : (อัพ. นิบาต) บางครั้ง, บางที, บาง คราว, ในกาลหนึ่ง, ในกาลบางครั้ง, ใน กาลบางคราว, ในกาลครั้งหนึ่ง.
  13. เอกภตฺติก : (วิ.) ผู้มีภัตครั้งเดียว, ผู้มีภัตหน เดียว (บริโภคอาหารมื้อเดียวใน ๑ วัน).
  14. เอกลกฺขณ : (นปุ.) เครื่องหมายว่าเป็นหนึ่ง, ลักษณะว่าเป็นหนึ่ง. เอก + อิติ + ลกฺขณ. เครื่องหมายอันเป็นหนึ่ง, ลักษณะอันเป็น หนึ่ง, ลักษณะอันเป็นเอก. เอก + ลักฺขณ. เครื่องหมายแห่งความเป็นหนึ่ง, เครื่องหมายแห่ง ความเป็นเอก, ลักษณะแห่ง ความเป็นหนึ่ง, ลักษณะแห่งความเป็น เอก. เอกภาว + ลกฺขณ. เครื่องหมายอันแสดงถึงความเป็นหนึ่ง, ลักษณะ อันแสดงถึงความเป็นหนึ่ง, ลักษณะอันแสดงถึง ความเป็นเอก, ลักษณะที่แสดงความเป็น เอก (ของสิ่งนั้น ๆ). เอกภาว + เทสน + ลกฺขณ. ลบศัพท์ในท่ามกลาง. ส. เอก ลกฺษณ. ไทยใช้ เอกลักษณ์ ตามสันสกฤต ออกเสียงว่า เอกกะลักษณ์ ในความหมาย ว่า ลักษณะที่เหมือนกันหรือมีร่วมกัน.
  15. เอกวาร : ก. วิ. ในวาระหนึ่ง, ครั้งหนึ่ง
  16. เอตโต : (อัพ. นิบาต) ข้างนั่น, ข้างนั้น.
  17. เอตาทิส เอทิกฺข เอริกฺข เอทิส เอริส เอที : (วิ.) เห็น...นั้นประดุจ...นี้, เห็นซึ่งบุคคล นั้นประดุจบุคคลนี้, เห็นบุคคลนั้นราวกะ ว่าบุคคลนี้, เห็นปานนี้. วิ. เอตมิว นํ ปสฺสตีติ เอตาทิโส, ฯลฯ. เอตศัพท์ซึ่ง แปลงมาจาก อิม เป็น บทหน้า ทิสฺ ธาตุ ในความเห็น กฺวิ ปัจ. ศัพท์แรก ทีฆะ อ ที่ ต ศัพท์หลัง ๆ แปลง เอต เป็น เอ ศัพที่ ๒ และ ๓ แปลง สฺ เป็น กฺข ศัพท์ ที่ ๓ และ ๕ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๖ ลบ ที่สุดธาตุ แปลง อิ เป็น อี. รูปฯ ๕๗๒.
  18. เอโต : (อัพ. นิบาต) แต่นั่น, แต่นั้น. เอต+โต ปัจ แปลง เอต เป็น เอ. ข้างโน้น. อมุ+โต แปลง อมุ เป็น เอ.
  19. เอทิส : ค. เช่นนี้, เช่นนั้น, อย่างนั้น
  20. เอรณฺฑ เอรณฺฑก : (ปุ.) ระหุ่ง, เทพทาโร ชื่อไม้ชนิดหนึ่งเปลือกหอมใช้ปรุงอาหาร และทำยา. วิ. โรคํ เอรณฺฑตีติ เอรณฺโฑ. เอรฑิ หึสายํ, โก. รูปฯ ๖๕๗ ศัพท์หลัง ไม่ลบ ก อภิฯ ลง ณ ปัจ. โรคํ นั้นฎีกา อภิฯ เป็น วาตํ. ส. เอรณฺฑ.
  21. เอว : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้น, อย่างนั้น, นี้, อย่างนี้, ด้วยประการนี้, ด้วยประการอย่าง นี้, ด้วยประการนั้นเทียว, เท่านั้น, อย่างนั้น. ที่ใช้เป็นประธาน เอวํ อ. อย่างนั้น, อ. อย่างนี้ ที่ใช้เป็นคำถาม เหน็บคำว่า “หรือ”.
  22. เอวปิ เอวมฺปิ : (อัพ. นิบาต) แม้ฉันนั้น, แม้ อย่างนี้, แม้อย่างนั้น, ฯลฯ.
  23. เอวมฺปิ : อ. ฉันนั้น, ดังนี้
  24. เอวเมว : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้นนั่นเทียว, ฉัน นั้นเหมือนกัน, ก็ฉันนั้นเหมือนกัน.
  25. ธุ (ธู) นน : นป. การสบัด, การหวั่นไหว, การกำจัด, การทำลายละ (กิเลส)
  26. นนุ : (อัพ. นิบาต) อะไร, อย่างไร, อย่างไรสิ, มิใช่หรือ, บ้างหรือหนอ. ส. นนุ.
  27. นูน : อ. แน่
  28. อชานน : ป., นป. ความไม่รู้, อวิชชา
  29. กุญฺจิต : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, ปิด, แนบ, แน่น, สนิท.
  30. กุฏุกุญฺจก : ค. ใกล้ชิด, กระชับ, แน่น
  31. ขินฺน : (วิ.) ลำบาก, เหน็ดเหนื่อย, เป็นทุกข์. ขิทิ ทีนิเย, โต. แปลง ต เป็น นฺน ลบ ที่สุดในธาตุ.
  32. คาฬฺห : (วิ.) มั่น, แน่น, แน่นอน. คหฺ อุปา ทาเน, โต. กัจฯ ๕๘๔ แปลง ต เป็น ห แปลงที่ สุดธาตุเป็น ฬ. บาลีไวยากรณ์แปลง ต เป็น ฬฺห ลบที่สุดธาตุ.
  33. ฉนฺน : (วิ.) สมควร, เหมาะสม, นุ่งห่ม, ปกปิด, กำบัง, ปิดบัง, ซ่อนเร้น, เงียบ, วังเวง, สงัด, ลับ. ฉทฺ สํวรเณ, โต. แปลง ต เป็น นฺน ลบที่สุดธาตุ กัจฯ และรูปฯ แปลง ต เป็น อนฺน ลบที่สุดธาตุ อภิฯ แปลง ต กับที่สุด ธาตุเป็น อนฺน.
  34. ชณฺณุ ชณฺณุก : (นปุ.) เข่า, หัวเข่า. วิ. ชายติ คมน เมเตนาติ ชณฺณุ, ชนฺ ปาตุภาเว, ณุ. แปลง นฺ เป็น นฺน แล้วแปลงเป็น ณฺณ ศัพท์หลัง ก สกัด ใช้ ชนฺนุ เป็นส่วนมาก.
  35. ชตุ : (นปุ.) ครั่ง ใช้เรียกทั้งตัวครั่งและขี้ครั่ง โดยมากหมายเอาขี้ครั่งที่ใช้เป็นชื่อตัวครั่ง น่าจะ เป็น ปุ., ยาง, ยางไม้. ชนฺ ชนเน, ตุ, นฺโลโป. ส. ชตุ.
  36. ตุณฺณวาย ตุนฺนวาย : (ปุ.) ช่างเย็บ, ช่างชุน. วิ. ตุนฺนํ อวายิ วายติ วายิสฺสตีติ ตุนฺนวาโย. ตุนฺนปุพฺโพ, วา คนฺธเน ( ตัด แทง) , อ. แปลง อา ที่ธาตุเป็น อาย หรือ ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ก็ไม่ต้องแปลง อา หรือ ตั้ง เว ตนฺตุสนฺตาเน, โณ. แปลง เอ เป็น อาย ศัพท์ต้น แปลง นฺน เป็น ณฺณ.
  37. ตุลิกา : (อิต.) นุ่น, ฟูกอันบุคคลยัดแล้วด้วย นุ่น, ฟูกยัดนุ่น.
  38. ตูล : (ปุ. นปุ.) นุ่น, สำลี, ฝ้าย. ตูลฺ นิกฺกรีเส, อ.
  39. เตล : (นปุ.) น้ำมัน, ( ที่ได้จากพืชและเนื้อสัตว์ ไขสัตว์) , น้ำมันงา ( ได้จากงา ). ติลฺ สิเนหเณ, โณ. แปลว่า สำลี นุ่น ฝ้าย ก็มี. ส. ไตล.
  40. ถทฺธ : (วิ.) ดื้อ, ดื้อด้าน, ดื้อดึง, แข็ง, กระด้าง, แข็งกระด้าง, แน่น, แน่นหนา, มั่น, ตระหนี่, หยิ่ง, เย่อหยิ่ง. ถภิ ปติพนฺธเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ.
  41. นินฺนาท : (ปุ.) การกึกก้อง,การบันลือ,ความ กึกก้อง, ความบันลือ, ความเกรียวกราว, เสียงกึกก้อง, เสียงบันลือ, เสียงสะท้าน, เสียงเกรียวกราว, นินาท, นฤนาท. วิ. ปุนปฺนปุนํ นาโท นินฺนาโท แปลง น เป็น นฺน แปลง อ ที่น ตัวต้นเป็น อิ ลงนิคคหิต อาคม แล้วแปลงเป็น นฺ.
  42. ปรณฺณ : (นปุ.) พืชอื่นจากข้าว ( คือถั่ว ), ถั่ว ( ต่างๆ ). ปร+อนฺน แปลง นฺน เป็น ณฺณ.
  43. ปุพฺพณฺณ : (นปุ.) ของที่กินก่อน, ปุพพัณชาต. ปุพพัณชาต ได้แก่ ธัญชาติ ๗ อย่าง คือ. ๑. สาลี ข้าวไม่มีแกลบ ๒. วีหิ ข้าวเปลือก ๓. กุทฺรุสโก หญ้ากับแก้ ๔. โคธุโม ข้าวละมาน ๕. วรโก ลูกเดือย ๖. ยโว ข้าวเหนียว และ ๗. กงฺคุ ข้าวฟ่าง. ไตร ๓๐ ข้อ ๗๖๒. วิ. อปรนฺนสฺส ปุพฺเพ ปวตฺตํ อนฺนํ ปุพฺพนฺนํ. แปลง นฺน เป็น ณฺณฺ อภิฯ เป็น ปุพฺพนฺน.
  44. ลาขา : อิต. ครั่ง
  45. สมฺพาธ : (วิ.) แคบ, คับแคบ, เบียดเสียด, ยัดเยียด, แน่น, อัดแอ, แออัด.
  46. สามิ : (อัพ. นิบาต) กึ่ง, ครึ่ง, น่าเกลียด, อันพึงเกลียด. ส. สามิ.
  47. อฑฺฒอทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค.เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ.ถ้าหมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติเขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ.อสุเขปเน, โต.แปลง ต เป็น ฑฺฒลบที่สุดธาตุคำหลังดูอทฺธข้างหน้า.ส. อรฺทฺธอรฺธ.
  48. อฑฺฒ อทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค. เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ. ถ้า หมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติ เขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ. อสุเขปเน, โต. แปลง ต เป็น ฑฺฒ ลบที่สุดธาตุ คำหลัง ดู อทฺธ ข้างหน้า. ส. อรฺทฺธ อรฺธ.
  49. อติสมฺพาธ : ค. แคบยิ่ง, แคบมาก, แน่น
  50. อมุ, อมุก : ส. โน่น, โน้น
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-304

(0.0506 sec)