Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ครั้งนั้น, ครั้ง, นั้น , then ครง, ครั้ง, ครั้งนั้น, นน, นั้น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ครั้งนั้น, 304 found, display 51-100
  1. กีจก : (ปุ.) ไม้ไผ่อันลมถูกต้องแล้วย่อมบันลือ เสียง, ไม้ไผ่เหล่าใดโยคไหวด้วยลมย่อม บันลือเสียง เพราะมีรูอันสัตว์มีหนอน เป็นต้นทำแล้ว ไม้ไผ่เหล่านั้น ชื่อ กีจกะ วิ. อนิเลน ปกมฺปิตา เย เวณู กีฏาทีหิ กตรนฺธตาย นทนฺติ เต กีจกา. จกิ อามสเน, ณฺวุ, พฺยญฺชนานํ วิปริยาโย (เปลี่ยนพยัญชนะคือเอา ก ไว้หน้า จ). เป็น กิจก บ้าง. ส. กีจก ไม้ไผ่สีกันดัง ออดแอด.
  2. กีทิส กีทิกฺข กีริส กีริกฺข กีที : (วิ.) เช่นไร, ผู้เช่นไร. วิ. กมิว นํ ปสฺสตีติ กีทิโส (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นราวกะบุคคลไร, ...ราวกะว่า ใคร). โก วิย นํ ปสฺสตีติ กีทิโส วา (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นราวกะ อ. ใคร). กีปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, กฺวิ. ลบ นิคคหิต ทีฆะ ศัพท์ที่ ๒ และ ๔ แปลง ส เป็น กฺข ศัพท์ที่ ๓ และ ๔ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๕ แปลง ส เป็น อี รูปฯ ๕๗๒. โมคฯ สมาสกัณฑ์ ๘๗ ลง ริกฺข ปัจ.
  3. กุฏิ กุฏิล : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อิ, อิโล. เกี่ยว, ตัด, แบ่ง, ปัน, กุฏฺ เฉทเน, อิ, อิโล. กุฏิล นั้นรูปฯ ๖๕๕ ลง อิร ปัจ. แปลง ร เป็น ล. ส. กุฏิล.
  4. กุทา : อ. ในกาลไร? เมื่อไร? ในกาลบางครั้ง
  5. กุทาจน : (อัพ. นิบาต) ในกาลไหน, ในการไร, ในกาลบางครั้ง, ในกาลบางที, ในการไหน ๆ. วิ. กสฺมึ กาเล กุทาจนํ. กึ+ทาจนํ ปัจ. ลงในอรรถ กาลสัตตมี.
  6. กุทาจน, - น : อ. ในกาลไหนๆ, ในกาลบางครั้งบางคราว
  7. กุหิญฺจน : (อัพ. นิบาต) ใน...ไหน, ใน...ไร, ในบางครั้ง
  8. ขณิกสมาธิ : (ปุ.) สมาธิชั่วขณะ คือจิตที่ตั้งอยู่ ในอารมณ์เดียวชั่วครั้งชั่วคราว จิตที่นิ่งอยู่ ในอารมณ์เดียวชั่วคราว.
  9. ขตฺตุ : ก. วิ. ครั้ง, (ใช้ต่อหลังศัพท์สังขยา เช่น ติกฺขตฺตุ = สามครั้ง)
  10. ขีร : (นปุ.) น้ำนม, นม (น้ำที่รีดมาจากเต้านม), นมสด, กษีร, เกษียร. วิ. ขียติ ทุหเณนาติ ขรํ. ขี ขเย, อีโร, โร วา. นมที่รีดออกมา ใหม่ๆ เรียก ขีระ ขีระนั้นทิ้งไว้จนเปรี้ยว เรียก ทธิ ทธินั้นเจียวขึ้นเรียก ตักกะ ตักกะนั้นเจียวขึ้นเรียก นวนีตะ นวนีตะนั้น เจียวขึ้นเรียก สัปปิ. ส. กฺษีร.
  11. เขตต : (นปุ.) ภริยา, สรีระ, ตน, แดน, แคว้น, นา, ไร่, ไร่นา, ที่, ที่ดิน, ทุ่ง, ทุ่งนา, เขต. วิ. พีชานิ ขิปิยนฺตีติ เขตฺตํ. พีชานิ ขิปนฺตฺ- ยสฺมินฺติ วา เขตฺตํ. ขิปฺ เปรเณ, โต, ปการสฺส ตตฺตํ. ขิตฺตํ พิชํ มหปฺผลภาวกร- เณน ตายตีติ วา เขตฺตํ. ขิตฺตปุพฺโพ, ตา ปาลเน, โต, อิสฺเส, ตการทฺวยโลโป (ลบ ตฺต แห่ง ขิตฺต) ที่แปล เขตฺต ว่า ภริยานั้น เพราะเป็นที่งอกงามของพืช คือ บุตร. ส. กฺษตร.
  12. คามเขตฺตทฺวิปทจตุปฺปทยานวาหน : (นปุ.) บ้านและนาและสัตว์มีเท้าสองและสัตว์ มีเท้าสี่และยานพาหนะเป็น อ. ทวัน. มี ฉ.ตุล. และ ฉ.ตุล. เป็ยภายใน. ศัพท ปท นั้นใช้ ปาท ก็ได้.
  13. โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
  14. จกฺกวิทฺธ : นป. ศิลปะแทงจักร, วิธีการยิงลูกศรไปยังเป้าหมายต่างๆ ซึ่งอยู่เป็นวงล้อมให้ลูกศรทะลุเป้าหมายเหล่านั้นแล้วกลับมาตั้งอยู่ในมือของผู้ยิง
  15. จตุกฺขตฺตุ : (อัพ. นิบาต.) สิ้นสี่ครั้ง, สิ้นสี่คราว, สิ้นสี่หน. กฺขตฺตุ ปัจ. ลงในอรรถแห่งวาร ศัพท์ สัมพันธ์ว่า อัจจันตสังโยคะ วิ. จตฺตาโร วาเร จตุกฺขตฺตู กัจฯ ๖๔๖ รูปฯ ๔๐๓. สี่ครั้ง, สี่คราว, สี่หน. สัมพันธ์ เป็นกิริยาวิเสสนะ.
  16. จน, จน : อ. เป็นอสากัลยัตถวาจกนิบาตบ่งความเพียงบางส่วนเช่นในคำว่า กุทา+จน = กุทาจน = ในกาลบางคราว, บางครั้งบางคราว เป็นต้น
  17. จาตุรงฺคสนฺนิปาต : (ปุ.) การประชุมพร้อมด้วย องค์สี่, การประชุมประกอบด้วยองค์สี่, การประชุมมีองค์สี่. จาตุรงคสันนิบาตเป็น ชื่อของการประชุมในวันมาฆบูชาเมื่อพระ พุทธเจ้าตรัวรู้แล้วได้ ๙ เดือน องค์สี่คือ. – ภิกษุที่มาประชุม ๑๒๕๐ องค์ ล้วน เป็นพระอรหันต์ ภิกษุสงฆ์ทั้งหมดนั้นเป็นเอหิภิกขุ – อุปสัมปทา ภิกษุสงฆ์เหล่านั้นมากันเองโดยมิได้ นัดหมาย และ วันนั้นเป็นวันเพ็ญเดือนมาฆะ
  18. จินฺตามณี : (ปุ.) แก้วที่เกิดขึ้นตามใจนึก, จิน- ดามณี. ไทยใช้คำ จินดามณี ในความหมาย ว่า แก้วอันผลแก่เจ้าของดังใจนึก แก้วสาร- พัดนึก คือนึกอย่างไรได้อย่างนั้น อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของหนังสือแบบเรียนของไทย เล่มแรกแต่งในยุดกรุงศรีอยุธยา.
  19. จุติจิตฺต : (นปุ.) จิตอันเคลื่อนจากภพที่เกิด, จุติจิต เป็นชื่อของจิตดวงที่เคลื่อนจากภพ ที่เกิด แล้วเป็นปฏิสนธิจิตทันที ไม่มีจิต อื่นคั่น จะเกิดเป็นอะไรนั้น ก็แล้วแต่กรรม ที่ทำไว้.
  20. จุลฺลกี : อิต. หมูทะเล; หม้อน้ำ; ฝั่งนั้น
  21. ฉกฺกณฺณ : (ปุ.) มนต์มีมุมหก คือการปรึกษากัน สามคน ได้ยินกันหกหู. วิ. ติณฺณํ ชนานํ วิสยภูโต โส มนฺโต ฉกฺกณฺโณ นาม. ฉ กณฺณา เอตฺถาติ ฉกฺกณฺโณ. มนฺต แปลว่า การปรึกษา. ฉกฺขตฺตุ (อัพ. นิบาต) หกครั้ง, หกคราว, หก หน, สิ้นหกครั้ง,ฯลฯ. ดู จตุกฺขตฺตุ ประกอบ
  22. ฉกฺขตฺตุ : อ. หกครั้ง
  23. ชราพฺยาธิมรณมิสฺสตา : (อิต.) ความที่แห่ง ชาตินั้นเป็นชาติเจือด้วยชราและพยาธิและ มรณะ, ความที่แห่งชาตินั้นเป็นของมีชรา และพยาธิและมรณะเจือปน.
  24. ชีวิตสีสี ชีวิตสทสีสี : (วิ.) ผู้มีกิเลสศรีษะสิ้น พร้อมด้วยชีวิต, ผู้มีกิเลสอันเป็นประธาน สิ้นไปพร้อมกับการสิ้นชีวิต, ผู้สิ้นกิเลส อันเป็นประธานพร้อมกับสิ้นชีวิต. กิเลส ที่เป็นประธานคืออวิชา. คำว่าสิ้นกิเลส พร้อมกับสิ้นชีวิตนั้นมิได้หมายความว่า เกิดพร้อมกันในวิถีจิตเดียวกัน อรหัตต – มัคคจิตเกิดประหาณ อวิชชาแล้ว ชีวิติน- ทรีย์ เจตสิกละรูปจึงดับ แม้ว่าจะห่างกัน หลายวิถีจิตก็จริง แต่เมื่อว่าโดยเวลาแล้ว ความดับกิเลสและสิ้นชีวิตก็กล่าวได้ว่าดับ ลงพร้อมกัน เพราะวิถีจิตเป็นไปเร็วมาก.
  25. ต : (อัพ. นิบาต.) เพราะ, เพราะเหตุนั้น, ด้วย เหตุนั้น. เป็นการณัตถนิบาต และ ปูร – ณัตถนิบาต.
  26. ตกฺกกาล : ป. กาลนั้น, เวลานั้น
  27. ตกฺกาล : (ปุ.) กาลนั้น
  28. ตขณิก : (วิ.) อันเป็นไปในขณะนั้น
  29. ตชฺช : ค. ซึ่งเกิดจากนั้น
  30. ต ตต ตนฺต : (วิ.) นั้น, นั้นๆ. เป็น ต ศัพท์ที่ เข้าสมาส ลงนิคคหิตอาคมเพื่อความสละ สลวย และความไพเราะ อุ. ตํขณ ตงฺขณ
  31. ตตฺถ ตตฺร : (อัพ. นิบาต) ใน...นั้น, ในที่นั้น วิ. ตสฺมึ ฐาเน ตตฺถ ตตฺร วา. ต ศัพท์ ตถฺ ตรฺ ปัจ.
  32. ตตฺถ, ตตฺร : อ. ที่นั่น, ในเหตุนั้น
  33. ตตฺถวฎฺฏก : (ปุ.) ตัตถวัฏฏกะ ชื่อคนที่บริโภค มากจนลุกไม่ขึ้น (นอน) กลิ้งเกลือกอยู่ ในที่นั้น.
  34. ตตฺรตตฺราภินนฺทีนิ : (วิ.) เพลิดเพลินใน อารมณ์นั้น ๆ.
  35. ตติย : ก. วิ. ครั้งที่สาม, คำรบสาม
  36. ตโต : (อัพ. นิบาต) แล, เพราะ, เพราะเหตุนั้น, ด้วยเหตุนั้น, แต่นั้น, ในลำดับนั้น. ตโต อยู่ต้นข้อความแปลว่า ในลำดับนั้นอยู่ ในเลขใน แปลว่า ในภายหลัง ตโต อยู่ กับ ปฎฺฐาย เป็นต้น เป็นวิเสสสัพพนาม ( ต + โต ปัจ. ) ต้องเติม นามนาม เข้ามา.
  37. ตโตนิทาน : (วิ.) มีทุกข์นั้นเป็นเหตุเครื่องมอบ ให้ซึ่งผล, มีการทำนั้นเป็นแดนมอบให้ซึ่ง ผล.
  38. ตโตนิทาน : ก. วิ. มีสิ่งนั้นเป็นเหตุ, เนื่องด้วยสิ่งนั้น
  39. ตโตปฏฺฐาย : อ. จำเดิมแต่นั้น, ตั้งแต่นั้น
  40. ตโตปร : อ. เบื้องหน้าแต่นั้น, ตั้งแต่นั้นมา
  41. ตถตฺตา : (อัพ. นิบาต) เพียงนั้นนั่นเทียว, เหมือนกัน, ฉันนั้น. ตถา+อิว รฺ อาคม.
  42. ตถตา : อิต. ความเป็นจริง, ความเป็นแท้, ความเป็นเช่นนั้น, ความเป็นเหมือนอย่างนั้น
  43. ตถภาว : (ปุ.) ความที่แห่งสัจจธรรมนั้นเป็น ธรรมแท้, ความเป็นแห่งธรรมแท้, ความจริง, ความแท้.
  44. ตถริว : อ. ฉันนั้น, เหมือนอย่างนั้น
  45. ตถา : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้น, อย่างนั้น, เหมือน กัน, เหมือนอย่างนั้น, มีอุปมัยเหมือน อย่างนั้น, ประการนั้น. รูปฯ ๔0๕ ตั้ง วิ. ไว้ ๓ วิภัตติ กัจฯ ๓๙๘ ตั้ง วิ. ไว้ทุกวิภัตติ ตามแต่เนื้อความในประโยคนั้น ๆ.
  46. ตถาการี : (วิ.) (คนตรง คิด พูดอย่างไร) ทำ อย่างนั้น.
  47. ตถาคต : (ปุ.) ท่านผู้ไปแล้วอย่างนั้น คือไปตรงต่อความจริง, พระตถาคต เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. ตโถ อาคโท เอตสฺสาติ ตถาโต (มีโวหารถูก ต้องหรือตรัสจริง) ตถ+อาคท แปลง ท เป็น ต หรือ ตถ แล อา+คมฺ+ต ปัจ. ลบ ที่สุดแห่งธาตุ. อภิฯ วิ. ยถา ปุริมกา สมฺพุทฺธา คตา ตถาคโตติ ตถาคโต. และ ชื่อว่า พระตถาคต เพราะเหตุ ๘ ประการ คือ : ๑. ตถา อาคโตติ ตถาคโต. ๒. ตถา คโตติ ตถาคโต. ๓. ตถลกฺขณํ อาคโตติ ตถาคโต. ๔. ตถธมฺเมยาถาวโต อภิสมฺพุทฺโธติ คถาคโต. ๕. ตถทสฺสิตาย ตถาคโต. ๖. ตถวาทิตาย ตถาคโต. ๗. ตถาการิตาย ตถาคโต. ๘. อภิภวนฏฺเฐน ตถาคโต.
  48. ตถา จ : (อัพ. นิบาต) ก็ ฉันนั้น ฯลฯ.
  49. ตถา นาม : (อัพ. นิบาต) ชื่อฉันนั้น, ฯลฯ.
  50. ตถาภาว : (ปุ.) ความเป็นอย่างนั้น, ฯลฯ.
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-304

(0.0386 sec)