Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ชั่วชีวิต, ชีวิต, ชั่ว , then ชว, ชวชวต, ชวต, ชั่ว, ชั่วชีวิต, ชีพิต, ชีวิต .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ชั่วชีวิต, 320 found, display 51-100
  1. ปาป : ๑. นป. ความชั่ว, ความเลวทราม, ความไม่ดี; ๒. ค. ชั่ว, ร้าย, ไม่ดี, เป็นบาป
  2. พาล : (วิ.) ผู้ตัดประโยชน์ทั้งสองอันบัณฑิตนับพร้อมแล้วว่าประโยชน์ของตนและประโยชน์ของบุคคลอื่น, เขลา, โง่, เซอะ, พาล. วิ. เทฺว อตฺตตฺถปรตฺถสํขาเต อตฺเถลุนาตีติ พาโล. ทฺวิ+ลา ธาตุ ในความตัด อ ปัจ. แปลง ทฺวิ เป็น พา. อ่อน, ไร้เดียงสา, เล็ก. พลฺ ปาณเน, โณ แปลว่า ชั่ว, ร้าย, ดุ, ดุร้าย อีกด้วย.
  3. เอล เอฬ : (วิ.) ชั่ว, เลว.
  4. ชีวติ : ก. เป็นอยู่, มีชีวิตอยู่
  5. ชีวี : (วิ.) มีความเป็นอยู่, มีชีวิตอยู่, ชีวศัพท์ อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  6. กฏน : นป. กรรมชั่ว, หญ้าคา, จาก
  7. กณฺหปฏิปทา : อิต. ปฏิปทาอันเลวทราม, ทางที่ชั่ว
  8. กณฺหวิปาก : ค. มีวิบากคือผลชั่ว
  9. กตน : นป. กรรมชั่ว, การทำบาป
  10. กตาคส : ค. ผู้ทำความชั่ว
  11. กปฺปี : ค. ผู้จัดแจง; ผู้ปรารถนา; ผู้ตั้งอยู่ชั่วกัป
  12. กมฺมโสจน : นป. ความเศร้าใจในกรรมชั่ว
  13. กลิ : (ปุ.) ความพ่ายแพ้, โทษ, ความชั่ว, บาป. วิ. กลียตีติ กลิ. กลฺ สํขฺยาเณ, อิ.
  14. กลิคฺคห : ป. ผลชั่ว, ความพ่ายแพ้
  15. กฬุส : (นปุ.) ความชั่ว, ฯลฯ. ดู กลุส ประกอบ.
  16. กาปุริส : (ปุ.) บุรุษอันบัณฑิตพึงเกลียด, บุรุษชั่ว, คนชั่ว, คนชั่วร้าย, คนเลว. วิ. กุจฺฉิตพฺโพ จ โส ปุริโส จาติ กาปุริโส, ลบอักษรศัพท์หน้า เหลือแต่ กุ แปลง กุ เป็น กา.
  17. กายกลิ : นป. กายโทษ, สิ่งชั่วช้าที่อยู่ในกาย
  18. กายทุจฺจริต : (นปุ.) ความประพฤติชั่วอันสัตว์ ทำแล้วด้วยกาย, ความประพฤติชั่วอัน บุคคลทำแล้วด้วยกาย. วิ. กาเยน กตํ. ทุจฺจริตํ กายทุจฺจริตํ. ความประพฤติชั่ว ด้วยกาย, ความประพฤติชั่วทางกาย. วิ. กาเยน ทุจฺจริตํ กายทุจฺจริตํ.
  19. กายทุจฺจริตาทิปเวสนนิวารณตฺถาจาร : (วิ.) ผู้มีอาจาระอันเกียดกันเสีย ซึ่งความเข้าไปแห่งความประพฤติชั่วมีความประพฤติชั่ว ด้วยกายเป็นต้นเป็นประโยชน์. เป็น ฉ. ตุล. มี ต. ตัป. ฉ. ตุล, ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นท้อง.
  20. กายทุจฺจริตาทิอกุสลกมฺมาภิรต : (วิ.) ผู้ยินดี ยิ่งแล้วด้วยกรรมมิใช่กุศลมีความประพฤติ ชั่วด้วยกาย เป็นต้น.
  21. กายทุฏฐุลฺล : นป. ความประพฤติชั่วหยาบทางกาย
  22. กาล : (ปุ.) สภาพผู้บั่นทอนคือ ยังชีวิตของสัตว์ ให้สิ้นไป วิ. สตฺตานํ อายุ กลยติ เขเปตีติ กาโล. กลฺ เขเป, โณ. สภาพผู้ทำชีวิตของสัตว์ให้น้อยลง ๆ ทุกวัน ๆ วิ. สตฺตานํ ชีวิตํ ทิวเส ทิวเส อปฺปํ อปฺปํ กโรตีติ กาโล. กรฺ กรเณ, โณ, รสฺส ลตฺตํ. อายุ, ยุค, กาล, สมัย, ครั้ง, คราว, หน, เวลา, การนับ, การคำนวณ. วิ. กลฺยเต อายุปฺปมาณาทโย อเนนาติ กาโล. กลฺ สํขฺยาเณ, โณ, การทำ วิ. กรณํ กาโร, โส เอว กาโล. อภิฯ. รูปฯ วิ. กรณํ กาโล. แปลง ร เป็น ล. ส. กาล.
  23. กาลกณฺณี : ป. คนชั่วช้า, คนจัญไร
  24. กิริยาจิตฺต : นป. จิตที่เป็นเพียงกิริยาคือไม่จัดลงไปแน่นอนว่า ดีหรือชั่ว, จิตที่ไม่มีผล
  25. กุกฺกุจฺจ : (นปุ.) ความรำคาญ, ความเดือดร้อน, ความสงสัย, ความรังเกียจ (ความรู้สึกสะ อิดสะเอียนในการทำความชั่ว). วิ. กุจฺฉิตํ กโรตีติ กุกฺกตํ. จิตฺตํ; ตํสมงฺคี วา, ตสฺส ภาโว วา กุกฺกุจฺจํ. กุจฺฉิตํ กุตํ กุกฺกุตํ. ตสฺส ภาโว กุกฺกุจฺจํ. กุกฺกุจฺจก
  26. กุกมฺม : (นปุ.) กรรมอันบัณฑิตเกลียด, กรรม น่าเกลียด, กรรมชั่ว. กุจฺฉิต+กมฺม.
  27. กุจฺฉิปริหาร : นป. การบริหารท้อง, การเลี้ยงชีวิต
  28. กุทาร : ป. ภรรยาชั่ว, เมียเลว
  29. กุทิฏฐิ : อิต. ความเห็นชั่ว, ความเห็นผิด, มิจฉาทิฐิ
  30. กุปุริส : ป. คนชั่ว, คนเลว
  31. กุมิตฺต : ป. มิตรเลว, เพื่อนชั่ว
  32. กุลุส : (นปุ.) โทษ, ความชั่ว, ความเดือดร้อน, บาป. ดู กลุส.
  33. โกธาภิถู : (วิ.) ผู้ครอบงำความโกรธ. เป็นฝ่ายดี. ผู้อันความโกรธครอบงำ. เป็นฝ่ายชั่ว.
  34. ขณิก : (วิ.) เป็นไปชั่วขณะ, ชั่วขณะ.
  35. ขณิกตฺต : นป. ความมีเพียงชั่วครู่ชั่วยาม; ความหายไป
  36. ขณิกสมาธิ : (ปุ.) สมาธิชั่วขณะ คือจิตที่ตั้งอยู่ ในอารมณ์เดียวชั่วครั้งชั่วคราว จิตที่นิ่งอยู่ ในอารมณ์เดียวชั่วคราว.
  37. ขเณน : ก. วิ. ชั่วขณะ, ชั่วครู่
  38. ขนฺธเภท : (ปุ.) การทำลายขันธ์ (แตกดับ สิ้นชีวิต ตาย).
  39. ขฬ : ๑. ป. คนพาล, คนชั่ว, คนกักขฬะ; ๒. ค. หยาบคาย, ดุร้าย, แข็ง, กักขฬะ
  40. ขิฑฺฑาทสก : นป. รอบสิบปีของการเล่น, ได้แก่สิบปีที่สองของชีวิตมนุษย์ คือ ๑๑-๒๐ ปี ของอายุ
  41. คุณนาม : (ปุ.) ชื่ออันแสดงความดี, คุณนาม คือนามที่แสดงลักษณะของนามนามให้ รู้ว่าดีหรือชั่วเป็นต้น.
  42. เคหนิสฺสิต : ค. ผู้อาศัยอยู่ในเรือน, เกี่ยวข้องอยู่ในบ้าน, อันเกี่ยวกับชีวิตในครอบครัว
  43. จตุปจฺจย : (ปุ.) เครื่องอาศัยเป็นไปสี่, เครื่อง อาศัยเลี้ยงชีวิตสี่อย่าง, ปัจจัยสี่. ปัจจัยสี่ คือจีวร (ผ้า) บิณฑบาต ( ข้าวปลาอาหาร ) เสนาสนะ (ที่อยู่อาศัย) และคิลานเภสัช (ยารักษาโรค).
  44. จาริตฺต : (นปุ.) ความประพฤติ, ความสมสู่ อู่. จาริตฺตํ อาปชฺชิตฺวา ถึงความสมสู่, จารีต. รูปฯ ๖๕๑ ให้ วิ. ว่า จริตานํ คโณ จาริตฺตํ. อถวา, จรนฺติ ตสฺมึ ปริปูริการิตายาติ จาริตฺตํ. จรฺ จรเณ, ณิตฺตปจฺจโย. ไทย จารีต คือสิ่งที่ประพฤติต่อๆ กันมาประเพ ณีที่ถือสืบต่อกันมาหรือการปฏิบัติที่ทำเป็น ประจำ มักพูดว่า จารีตประเพณีใครฝ่าฝืน ถือว่าเป็นผิดเป็นชั่ว.
  45. จิตฺตกลิ : ป. ความชั่วร้ายแห่งจิต, โทษของจิต, จิตที่ชั่วช้า, จิตที่ต่ำทราม
  46. จิตฺตทุพฺภก : ป. สภาวธรรมอันประทุษร้ายจิต, สิ่งที่ทำลายจิตใจ, จิตใจชั่วร้าย
  47. จิรกาล : อ. ตลอดเวลาอันยาวนาน, ชั่วกาลนาน
  48. จิรฏฐิติก : ค. ซึ่งตั้งอยู่ตลอดกาลอันยาวนาน, ซึ่งดำรงอยู่ชั่วกาลนาน
  49. จิรนฺตน : (วิ.) ชั่วก่อน (ระยะก่อน), ชั่วเพรง (เพรง คือ ก่อนเก่า), ก่อน, มีในก่อน. วิ. จิรํ ภโว จิรนฺตโน. จิรํ+ตน ปัจ. แปลง นิคคหิตเป็น น. ฎีกาอภิฯ ว่า ลบนิคคหิต ถ้าถือตามมติฎีกาฯ ก็ต้องลง นฺ สังโยค หรือ นฺ อาคมหน้าปัจ.
  50. จิรรตฺต : อ. ตลอดราตรีนาน, สิ้นกาลนาน, ชั่วกาลนาน
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-320

(0.0322 sec)