Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แจ้งเหตุ, แจ้ง, เหตุ , then จง, แจ้ง, แจ้งเหตุ, หต, เหตุ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : แจ้งเหตุ, 324 found, display 51-100
  1. โพเธตุ : (วิ.) ผู้ยังหมู่สัตว์ให้ตื่น, ผู้ปลุก. พุธฺ ธาตุในความตื่น เณ ปัจ. เหตุ. ตุ ปัจ.
  2. โยนิ : (ปุ.) ปัสสาวมรรคของหญิง, นิมิตของหญิง, ของลับของหญิง, โยนี. วิ. ยวนฺติ สตฺตา อเนน เอกีภาวํ คจฺฉนฺตีติ โยนิ. ยุ คติยํ, นิ. ยวนฺติ สุกฺกโสณิตา เอเตนาติ วา โยนิ. ยุ มิสฺสเน, นิ. แปลว่า เหตุ ก็มี.
  3. อาหาร : (ปุ.) วัตถุอัน...พึงกิน, วัตถุอัน...พึง กลืนกิน, เครื่องบริโภค, เครื่องค้ำจุนชีวิต, ของกิน, อาหาร. วิ. โอชฏฺฐมกํ รูปํ อาหร ตีติ อาหาโร. อาหรติ พลายูนีติ วา อาหาโร. อาปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, โณ. แปลว่า การณะ, เหตุ. ปัจจัย การนำมา อีกด้วย. ส. อาหาร.
  4. อุปฺปาต อุปฺปาท : (ปุ.) กาลเป็นที่บังเกิดขึ้น, อาเพศแห่งดินฟ้าอากาศ แสดงผลดีผลชั่ว, ลางชี้ผลดีและผลชั่ว, อุบาต อุบาท (เหตุ การณ์ที่เกิดขึ้นผิดปกติ). วิ. สุภาสุภผลํ ปกาเสนฺโต อุปฺปตฺตีติ อุปฺปาโต, ปตฺ คติยํ, โณ, ปฺสํโยโค. การเกิดขึ้น, การบังเกิดขึ้น, เหตุ. วิ. อุปฺปตฺติ อุปฺปาโต. ศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ท. ส. อุตฺปาต อุตฺปาท.
  5. กมฺมกิเลส : ป. กรรมกิเลส, กรรมเป็นเหตุให้เศร้าหมอง
  6. กมฺมมูล : ค. มีกรรมเป็นมูลเหตุ
  7. กลหการณ : นป. เหตุแห่งการทะเลาะ
  8. กสฺมา : (อัพ. นิบาต) เพราะเหตุไร.
  9. กามเหตุ : ค. ดู กามเหตุ
  10. กามาตุล : ค. ผู้ทุรนทุรายเพราะความใคร่เป็นเหตุ, ผู้ป่วยใจ
  11. กามาธิกรณ : ค. ผู้มีความใคร่เป็นเหตุให้เกิดเรื่อง
  12. กายวิญฺญาณ : นป. ความรู้สึกในกายสัมผัส, ความรู้แจ้งอารมณ์ด้วยกายคืออาการที่รู้ว่าสัมผัส
  13. กายสกฺขี : ค. ผู้มีตนเป็นพยาน, ผู้ยกตนขึ้นเป็นพยาน; ผู้บรรลุธรรมโดยยึดร่างกายเป็นเหตุ
  14. การณ : (นปุ.) เหตุ, มูล, เค้า, มูลเค้า, วิ. กโรติ ผลนฺติ การณํ. อตฺตโน ผลํ กโรตีติ วา การณํ. กรฺ กรเณ, ยุ. ส. การณ.
  15. กาลวิปสฺสี : ค. ผู้มีปกติเห็นกาลเวลาอย่างแจ้งชัด
  16. กิตฺตาวตา : (อัพ. นิบาต) ด้วยเหตุมีประมาณ เท่าไร, มีประมาณเท่าไร. ลงในอรรถ ปริจเฉท และ ปุจฉนะ.
  17. กิเลสกาม : (ปุ.) กิเลสอันสัตว์พึงใคร่, กิเลสที่ สัตว์พึงใคร่, กิเลสให้สัตว์ใคร่, กิเลสเป็น เหตุใคร่.
  18. กิเลสวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) วนคือกิเลส, กิเลสวัฏ. กิเลสเป็นเหตุให้สัตว์วนคือท่องเที่ยวหรือ เวียนว่ายตายเกิดในภพต่าง ๆ เพราะเมื่อ กิเลสเกิดขึ้นแล้วเป็นเหตุให้ทำกรรมเมื่อทำ กรรมแล้วจะต้องได้รับผลของกรรมนั้น เมื่อเสวยผลของกรรมอยู่ กิเลสก็เกิดขึ้น อีก วนกันไปอย่างนี้ กว่าพระอรหัตต- มรรคจะตัดให้ขาดลง. ธรรมปริจเฉทที่ ๒.
  19. กึการณ : (นปุ.) เหตุอะไร.
  20. กึการณา, กิงฺการณา : ปัญ. เพราะเหตุอะไร, เพราะอะไรเป็นเหตุ
  21. กึชาติก กึนิทาน กึปภว กึสมุทย : (วิ.) มีอะไร เป็นชาติ, มีอะไรเป็นเหตุ, มีอะไรเป็น แดนเกิดก่อน, มีอะไรเป็นสมุทัย (แปล ตามลำดับศัพท์). วิ. ตัวอย่าง โก ปภโว อสฺสาติ กึปภโว.
  22. กึ นุ โข : (อัพ. นิบาต) เพราะเหตุอะไรหนอ แล, อะไรหนอแล, อย่างไรหนอแล. กึ แปลเป็นเหตุก็ได้ ฉัฏฐี  ก็ได้ ทุติยาก็ได้.
  23. กุโต : (อัพ. นิบาต) แต่...ไหน, จาก...ไหน, แต่ ไหน, จากไหน, แต่ที่ไหน, จากที่ไหน, เพราะเหตุไร. กึ ศัพท์ โต ปัจ. แปลง กึ เป็น กุ. กุตฺต (นปุ.?) การทำ. กรฺ+ต ปัจ. แปลง กรฺ เป็น กุ ซ้อน ตฺ.
  24. กุลีนก : (ปุ.) ม้าอาชาไนย, ม้าตัวรู้จักเหตุและ ภาวะมิใช่เหตุ.
  25. โกปีนนิทฺทสนี : ค. เป็นเหตุไม่รู้จักละอาย
  26. ขยานุปสฺสนา : อิต. ความรู้แจ้งเห็นจริงในความเสื่อม
  27. คมนการณ : นป. เหตุแห่งการไป
  28. จกฺขุวิญฺเญยฺย : ค. (สิ่ง) ที่พึงรู้แจ้งด้วยจักษุ
  29. จตุรุสฺสท : ค. หนาแน่นด้วยเหตุสี่ประการ, พรั่งพร้อมด้วยสิ่งประกอบสี่อย่าง คือ ประชาชน, ข้าว,ไม้, และน้ำ
  30. จิตฺตปฏิสเวที : (วิ.) รู้พร้อมเฉพาะซึ้งจิต, จิตตปฏิสังเวที(ทำให้จิตแจ่มแจ้ง).
  31. จิตฺตเหตุ : ค. มีจิตเป็นเหตุ
  32. ชราสิถิลชมฺม : (นปุ.) หนังย่นในเพราะชรา เป็นเหตุ.
  33. ชาติปภว : ป. ต้นเหตุแห่งชาติ, มูลเหตุที่ให้เกิด
  34. ญาณกรณ, - ณี : ค. อันทำให้เข้าใจแจ่มแจ้ง, อันทำให้รู้แจ้ง
  35. ญาณทสฺสี : นป. ผู้มีความเห็นอันแจ่มแจ้ง
  36. ญาติเหตุสมฺปตฺติ : อิต. สมบัติที่ได้รับเพราะเหตุแห่งญาติ
  37. ญาย : (วิ.) แนะนำ, สั่ง, ควร, สมควร, ถูก, ถูกต้อง, ชอบ, สมเหตุ, สมผล, ยุกติ (ควรชอบ).
  38. ฐาน : (วิ.) เป็นที่ตั้ง, เป็นที่อันเขาตั้ง, เป็นที่ ยืน, เป็นที่อันเขายืน. วิ. ติฏฺฐติ เอตฺถาติ ฐานํ. ติฏฺฐิยเต เอตฺถาติ วา ฐานํ. เป็นที่ตั้ง แห่งผล วิ. ติฏฺฐติ ผลํ เอตฺถาติ ฐานํ. เหตุ, มูลเค้า. ฐา คตินิวตฺติยํ, ยุ.
  39. ฐานโส : ก. วิ. โดยเหตุ, โดยฐานะ
  40. ต : (อัพ. นิบาต.) เพราะ, เพราะเหตุนั้น, ด้วย เหตุนั้น. เป็นการณัตถนิบาต และ ปูร – ณัตถนิบาต.
  41. ตณฺหาปจฺจย : ต. มีตัณหาเป็นปัจจัย, มีตัณหาเป็นเหตุ
  42. ตณฺหาสมุทย : นป. เหตุเกิดขึ้นแห่งตัณหา
  43. ตตฺถ, ตตฺร : อ. ที่นั่น, ในเหตุนั้น
  44. ตโต : (อัพ. นิบาต) แล, เพราะ, เพราะเหตุนั้น, ด้วยเหตุนั้น, แต่นั้น, ในลำดับนั้น. ตโต อยู่ต้นข้อความแปลว่า ในลำดับนั้นอยู่ ในเลขใน แปลว่า ในภายหลัง ตโต อยู่ กับ ปฎฺฐาย เป็นต้น เป็นวิเสสสัพพนาม ( ต + โต ปัจ. ) ต้องเติม นามนาม เข้ามา.
  45. ตโตนิทาน : (วิ.) มีทุกข์นั้นเป็นเหตุเครื่องมอบ ให้ซึ่งผล, มีการทำนั้นเป็นแดนมอบให้ซึ่ง ผล.
  46. ตโตนิทาน : ก. วิ. มีสิ่งนั้นเป็นเหตุ, เนื่องด้วยสิ่งนั้น
  47. ตถาคต : (ปุ.) ท่านผู้ไปแล้วอย่างนั้น คือไปตรงต่อความจริง, พระตถาคต เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. ตโถ อาคโท เอตสฺสาติ ตถาโต (มีโวหารถูก ต้องหรือตรัสจริง) ตถ+อาคท แปลง ท เป็น ต หรือ ตถ แล อา+คมฺ+ต ปัจ. ลบ ที่สุดแห่งธาตุ. อภิฯ วิ. ยถา ปุริมกา สมฺพุทฺธา คตา ตถาคโตติ ตถาคโต. และ ชื่อว่า พระตถาคต เพราะเหตุ ๘ ประการ คือ : ๑. ตถา อาคโตติ ตถาคโต. ๒. ตถา คโตติ ตถาคโต. ๓. ตถลกฺขณํ อาคโตติ ตถาคโต. ๔. ตถธมฺเมยาถาวโต อภิสมฺพุทฺโธติ คถาคโต. ๕. ตถทสฺสิตาย ตถาคโต. ๖. ตถวาทิตาย ตถาคโต. ๗. ตถาการิตาย ตถาคโต. ๘. อภิภวนฏฺเฐน ตถาคโต.
  48. ตถา หิ : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้นแล, เพราะเหตุ นั้น, จริงอย่างนั้น.
  49. ตวการณ : (นปุ.) เหตุแห่งท่าน.
  50. ตสฺมา : อ. เพราะฉะนั้น, เพราะเหตุนั้น
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-324

(0.0467 sec)