Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทำวัตรเช้า, ทำวัตร, เช้า , then ชา, เช้า, ทำวัตร, ทำวัตรเช้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทำวัตรเช้า, 328 found, display 201-250
  1. กุสีต : ค. เกียจคร้าน, เฉื่อยชา
  2. กุสีตตา : อิต., กุสิตตฺต นป. ความเป็นคนเกียจคร้าน, ความเกียจคร้าน, ความเฉื่อยชา
  3. โกล : (วิ.) เกิดในสกุล, เชื้อสายในสกุล, เกี่ยวใน สกุล. วิ. กุเล ชาโต โกลํ. กุเล นิยุตโต โกลํ, ณ ปัจ.
  4. โกเลยฺยก : (วิ.) เกิดในตระกูล วิ. กุเล ชาโต โกเลยฺยโก. เณ ยฺยปัจ. ราคาทิตัล. ก สกัด.
  5. ขุทฺทปุปฺผิย : (ปุ.) ชิงช้าชาลี ชื่อเถาวัลิชนิด หนึ่ง ใช้ทำยาไทย, เข็ม, ต้นเข็ม, ดอกเข็ม.
  6. เขตต : (นปุ.) ภริยา, สรีระ, ตน, แดน, แคว้น, นา, ไร่, ไร่นา, ที่, ที่ดิน, ทุ่ง, ทุ่งนา, เขต. วิ. พีชานิ ขิปิยนฺตีติ เขตฺตํ. พีชานิ ขิปนฺตฺ- ยสฺมินฺติ วา เขตฺตํ. ขิปฺ เปรเณ, โต, ปการสฺส ตตฺตํ. ขิตฺตํ พิชํ มหปฺผลภาวกร- เณน ตายตีติ วา เขตฺตํ. ขิตฺตปุพฺโพ, ตา ปาลเน, โต, อิสฺเส, ตการทฺวยโลโป (ลบ ตฺต แห่ง ขิตฺต) ที่แปล เขตฺต ว่า ภริยานั้น เพราะเป็นที่งอกงามของพืช คือ บุตร. ส. กฺษตร.
  7. คงฺเคยฺย : (วิ.) เกิดในแม่น้ำคงคา, อยู่ในแม่น้ำ คงคา. วิ. คงฺคาย ชาโต คงฺเคยฺโย. คงฺคาย วสตีติ คงฺเคยฺโย. เณยฺย ปัจ. ราคาทิตัท. รูปฯ ๓๖๒.
  8. คชฺชิต : (ปุ.) ช้างซับมัน. วิ. คชฺโช สญฺชาโต ยสฺส โส คชฺชิโต. อิต ปัจ.
  9. คพฺโภทร : (นปุ.) เนื้อนี้ของโค วิ. คุนฺนํ อิทํ มํสํ คพฺยํ. ย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๕. สิ่งนี้มีอยู่ในวัว วิ. คเว ภวํ คพฺยํ. ณฺย ปัจ. ชาตาทิตัท. รูปฯ ๓๖๓.
  10. คาถา : (อิต.) วาจาของบุคคลผู้มีปรีชา, คำของ บุคคลผู้มีปรีชา, วาจาอันบัณฑิตผูกไว้, สัททชาติอัณบัณฑิตกล่าว, ลำนำ (บทเพลง ที่เป็นทำนอง), กลอน, บทกลอน, เพลง, เกียรติ, คาถา ชื่อคำประพันธ์ทางภาษา มคธ เรียกคำฉันท์ที่ครบ ๔ บาทว่า ๑ คาถา (ระเบียบเป็นเครื่องอันบัณฑิตขับ) ชื่อองค์ที่ ๔ ของนวังคสัตถุศาสน์. คา สทฺเท, โถ, อิตฺถิยํ, อา. ส. คาถา.
  11. คิมฺห : (ปุ.) เดือนเกิดแล้วในฤดูร้อน วิ. คิเมฺห ชาโต คิโมฺห. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. รุปฯ ๓๖๒.
  12. โคตฺถุล : (ปุ.) หมาจิ้งจอก วิ. โคตฺเต วํเส สึคาลชาติยํ อลนฺติ โคตฺถุโล, กัจฯ ๖๖๕.
  13. โคปฺผิม : (วิ.) เกิดที่เท้า, มีที่ข้อเท้า. โคปฺผ ศัพท์ อิม ปัจ. ชาตาทิตัท.
  14. จมฺเปยฺยก : (วิ.) ผู้อยู่ในเมืองจำปา วิ. จมฺปายํ วสตีติ จมฺเปยฺยโก. ผู้เกิดในเมืองจัมปา วิ. จมฺปายํ ชาโตติ จมฺเปยฺยโก. เอยฺย ปัจ. ก สกัด. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณฺยยก ปัจ.
  15. จาหา : (อิต.) น้ำชา ?
  16. จิตฺตช จิตรช : (วิ.) เกิดแต่จิต วิ. จิตฺตโส ชาโต จิตฺตโช. เกิดในจิต วิ. จิตฺตสฺมึ ชาโต จิตฺตโช. กฺวิ ปัจ. นามกิตก์ จะตอบเป็น ปญจมีตัป. สัตตมีตัป. ก็ได้. โส ปัจ. ลงใน ปัญจมีวิภัติ.
  17. จิรกฺริย : (วิ.) ผู้ประพฤติช้า, ผู้เฉื่อยชา, ผู้ผลัด วันประกันพรุ่ง. วิ. จิเรน กฺริยานฺฏฺฐานํ อสฺสาติ จิรกฺริโย.
  18. จิรกิริยา : อิต. การกระทำให้ชักช้า, ความเฉื่อยชา
  19. ฉชฺช : (ปุ.) ฉัชชะ ชื่อเสียงดนตรีอย่างที่ ๓ ใน ๗ อย่าง เกิดจากหกส่วนคือ จมูก ปาก อก เพดาน ลิ้น และฟันหรือคอ เป็นเสียง เหมือนนกยูงร้อง วิ. ฉหิ ชาโต ฉชฺโช. ฉ+ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ลบที่สุดธาตุ แปลง ช เป็น ชฺช.
  20. ฉพฺพคฺคิย : (วิ.) มีพวกหก. อิย ปัจ. ชาตาทิตัท
  21. ชมฺปติ : (ปุ.) เมียและผัว วิ. ชายา จ ปติ จ ชมฺปติ. ลบ ยา รัสสะ อาทีชา เป็น อ สังโยค ม. ส. ชมฺปตี.
  22. ชลช : (วิ.) เกิดในน้ำ วิ . ชเล ชาโต ชลโช. กฺวิปัจ. หรือว่าเป็น ส.ตัป. ก็ได้ รูปฯ ๕๗๐ ส. ชลช.
  23. ชาณุ ชานุ : (ปุ.) อวัยวะ อันยังการไปให้เกิด (เข่า หัวเข่า). วิ. คมนํ ชาเรตีติ ชาณุ ชานุ วา.
  24. ชาตเวท : (ปุ.) ไฟมีเปลวอันเกิดแล้วอันบุคคล พึงรู้, ไฟเครื่องประสมซึ่งเปลว, ไฟ, เปลว ไฟ. วิ. ชาเต อุปฺปนฺเน วินฺทติฌาปยตีติ ชาตเวโท. อนฺธกาเร ชาตํ วิชฺชมานํ วินฺทติ ลภติ ชานาติ วา เอเตนาติ วา ชาตเวโท. ชนนํ ชาตํ เวโท ปากโฏ ยสฺส วา โส ชาตเวโท.
  25. ชาตสร ชาตสฺสร : (ปุ.) สระอันเกิดแล้ว วิ. ชาตํ อปจฺจํ เอติสฺสาติ ชาตาปจฺจา. ชาโต วา ปุตฺโต เอติสฺสาติ ชาตาปจฺจา.
  26. ชาติโกส : (นปุ.) ลูกจันทร์, ลูกจันทร์เทศ. วิ. โกสสหิตํ ชายติ ผล เมตสฺสาติ ชาติโกสํ.
  27. ชาติสุมนา : (อิต.) ชาตบุษย์ ชื่อบัว, มะลุลี ชื่อต้นไม้ในวรรณคดี, ดอกบัว, มะลิ, มะลิซ้อน.
  28. ชามาตุ : (ปุ.) ลูกเขย (ชายผู้เป็นสามีของลูก สาว) วิ. ปปุตฺเต ชเนตีติ ชามาตา (ผู้ยัง หลาน ท.ให้เกิด). ชนฺ ชนเน, ริตุ. แปลง อ ที ช เป็น อา อ อาคม (เพื่อให้ นฺ เป็น น) แปลง น เป็น มา ลบ ริ.
  29. ชายาปติ : ป. ดู ชายมฺปติก
  30. ชาร : (ปุ.) ชายที่รัก, ชายชู้. วิ. ชียนฺติ อเนนา ติ ชาโร. ชรฺ วโยหานิมฺหิ, โณ. อภิฯลง อ ปัจ. โมคฯ ขาทิกัณฑ์ ๔๔ วิ. ชีรยติ เอ- เตนาติ ชาโร. ฆณฺปัจ. ชาโร วุจฺจติ โจร – สามิโก. ส. ชาร.
  31. ชิน : (ปุ.) ความเสื่อม, ความสิ้น, ความเสื่อม สิ้น, ความย่อยยับ. ชิ ชานิยํ, อิโน. ผักชี ล้อม ก็ แปล.
  32. ฌามก ฌาวุก : (ปุ.) ไม้ชาเกลือ? ไม้กรดมูก, ไม้ชิงชี่. ชิงขี้ ก็เรียก.
  33. ญาณ : (ปุ. นปุ.) ความรู้, ปรีชา, ปัญญา. วิ. ชานนํ ญาณํ. ธรรมชาตเป็นเครื่องรู้ วิ. ชานาติ เอเตนาติ ญาณํ. ธรรมชาติผู้รู้ อริยสัจสี่ วิ. จตุสจฺจํ ชานาตีติ ญาณํ. ญา+ยุ ปัจ.
  34. ญาต : (วิ.) ผู้รู้ วิ. ชานาตีติ ญาโต. อันเขารู้ วิ. ญาตพฺพนฺติ ญาตํ ญาธาตุ ต ปัจ.
  35. ตนฺทิ : อิต. ความหลับ, ความประมาท, ความเฉื่อยชา, ความเหนื่อยอ่อน, ความขี้เกียจ
  36. ตนฺทิต : ค. เมื่อย, เฉื่อยชา, ขี้เกียจ
  37. ตนย : (ปุ.) ลูก, ลูกชาย, ดนัย. วิ. ตนุมฺหา ชาโต ตนโย. ตนุ + ย ปัจ. ชาตาทิตัท. ตโนติ มุท มิติ วา ตนโย. ตนุ วิตฺถาเร, อโย, โย วา.
  38. ตนุช : (ปุ.) ชนผู้เกิดแต่ตน. ลูก, ลูกชาย. วิ. ตนุมฺหา ชาโต ตนุโช. ตนุ+ชนฺ+กฺวิ ปัจ.
  39. ตล : (นปุ.) ชั้น, ชั้นล่าง,พื้น, ฝ่ามือ. วิ. ตลยติ เอตฺถ วตฺถุชาตนฺติ ตลํ. ตลฺ ปติฏฐายํ, อ.
  40. ติตฺตก : (ปุ.) กระดอม, เทพชาลี, ขี้กา. ทั้ง ๓ ชนิดนี้เป็นไม้เลื้อย ผลมีรสขม ใช้ทำยา ไทย. ติตฺตรสตาย ติตฺตโก. ก สกัด.
  41. ติทส : (ปุ.) เทวดามีชายสาม (ชายผ้า), เทวดามีชายผ้าสาม, ติทสา ชื่อของเทวดา ชื่อที่ ๑ ใน ๑๔ ชื่อใช้เป็นพหุ. ทั้ง ๑๔ ชื่อ, เทวดา. ดูอภิฯคาถาที่๑๑และ๑๒. ติ+ทสา (ชาย ชายผ้า). วิ. ชาติสตฺตาวินาสสํขาตา ติสฺโส ทสา ปริมาณา เอเตสนฺติ ติทสา.
  42. ติโรกฺการ : (ปุ.) การทำให้ต่ำ, ฯลฯ. ดู ติรกฺการ. ติรปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, โณ แปลง อ ที่ ร เป็น โอ ซ้อน กฺ หรือ วิ. ติโรชานกรณํ ติโรกฺกาโร.
  43. ตุทมฺปติ : (ปุ.) เมียและผัว วิ. ชายา จ ปติ จ ตุทมฺปติ. ชายาสทฺทสฺส ปติมฺหิ ปเร ตุทํอาเสโท. อภิฯ กัจฯ ๓๓๙ รูปฯ ๓๔๓.
  44. ตุรุกฺข : (ปุ.) มดยอบ, กำยาน, วิ. ตุรโต ชาโต ตุรุกฺโข. ตรุ ศัพท์ ข ปัจ. แปลง อ ที่ ต เป็น อุ ซ้อน ก.
  45. ถญฺญ : (นปุ.) นม (น้ำที่ออกจากเต้านม), น้ำนม, น้ำนมสด, นมสด, รสในถัน, รส เกิดจากถัน, น้ำนมอันเกิดจากเต้านม. วิ. ถนโต สมฺภุตํ ถญญ. ณฺย ปัจ. ชาตาทิตัท. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ลง ย ปัจ. ลบ อ ที่ น และ ลบ ณฺ. ได้รูปเป็น ถนฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ.
  46. ถลช : (วิ.) เกิดในที่ดอน วิ. ถเล ชาโต ถลโช.
  47. ทณฺฑช : (วิ.) เกิดแต่อาชญา วิ. ทณฺฑโต ชาโต ทณฺฑโช. เป็นนามกิตก์ ทณฺฑ บท หน้า ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ก็ได้ เป็น ปัญฺจ. ตัป. ก็ได้.
  48. ทนฺธ : (วิ.) โง่, เขลา, เงื่อง, เฉื่อย, เฉื่อยชา, เฉื่อยช้า, ช้า, ทราม. ทธิ อสีฆจาเร, อ.
  49. ทนฺธตา : อิต. ความเป็นคนเฉื่อยชา, ความโง่เขลา
  50. ทมฺปติ : (ปุ.) เมียและผัว วิ. ชายา จ ปติ จ ทมฺปติ. เพราะปติ อยู่เบื้องปลาย แปลงชายา เป็น ทํ. ชายาสทฺทสฺส ปติมฺหิ ปเร ทํอาเทโส. นามมาลา ๓๗. ส. ทมฺปติ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-328

(0.0439 sec)