Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เส้น , then สน, เส้น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เส้น, 329 found, display 251-300
  1. โจรเชฏฺฐ โจรเชฏฺฐก : (ปุ.) นายโจร (คนที่ เป็นใหญ่ในพวกโจร). เป็น ส. ตัป. โจร – โจก (โจกคือหัวหน้า), โจรผู้เป็นหัวหน้า, โจรผู้เป็นใหญ่. เป็นวิเสสนบุพ. กัม.
  2. ฑสน : นป. ดู ฑํสน
  3. : (ไตรลิงค์) เป็นปุริสสัพพนามและวิเสสน- สัพพนาม ต ศัพท์ที่เป็นปุริสสัพพนามเป็น ประถมบุรุษสำหรับออกชื่อคนและสิ่ง ของ ซึ่งผู้พูดออกชื่อถึง แปลว่า ท่าน เธอ เขา มัน นาย นาง เป็นต้น ต ศัพท์ที่ เป็นวิเสสนสัพพนาม แปลว่า นั้น.
  4. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  5. ตณฺหา : (อิต.) ความกระหาย, ความระหาย, ความอยาก, ความอยากได้, ความทะยาน (ดิ้นรน), ความทะยานอยาก (อยากได้ อยากมี อยากเป็น), ความกำหนัด (ความใครในกามคุณ), ความว่องไว (ใน อารมณ์), ความสน (นิ่งอยู่ไม่ได้), ความดิ้นรน, ความปรารถนา (ในกาม), ความเสน่หา (ติดพัน), ความแส่หา (ดิ้นรน), โลภ ความโลภ (อยากใคร่ในอารมณ์), ดำฤษณา, ตฤษณา. วิ. ตสนํ ตณฺหา. ยาย วา ตสนฺติ สา ตณฺหา ตสฺ ปิปาสายํ, ณฺห, สโลโป. ตสติ ปาตุ มิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ตสติ ปาปํ อิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ห ปัจ แปลง ณ. ส. ตฤษณา
  6. ตมุสฺสนฺนา : (อิต.) คืนเดือนมืด. วิ. ตโม อุสฺ- สนฺโน ยสฺสา สา ตมุสฺสนนา.
  7. ตุริยตาฬิตวาทิตนิคฺโฆสสทฺท : (ปุ.) เสียง กึกก้องโดยความไม่มีส่วนเหลือแห่ง ดนตรีอันบุคคลประโคมแล้วและเสียง กึกก้องโดยความไม่มีส่วนเหลือแห่ง ดนตรีอันบุคคลบรรเลงแล้ว. เป็น อ. ทวัน. มี ต.ตัป.วิเสสนบุพ.กัม.วิเสสนุต.กัม.ฉ.ตัป. วิเสสนบุพ.กัม. และ ฉ.ตัป. เป็นท้อง.
  8. ทฺวตฺตีสมหาปุริสลกฺขณปฏิมณฺฑิต : (วิ.) ประดับเฉพาะแล้วด้วยลักษณะของมหาบุรุษสามสิบสองประการ (คำประการเป็นคำเหน็บเข้ามา). เป็น ต. ตัป. มี วิเสสน บุพ. กัม, ฉ. ตัป และ ส. ทิคุ. เป็นภายใน.
  9. ทสนจฺฉท : (ปุ.) ริมฝีปาก วิ. ทสเน ฉาทยตีติ ทสนจฺฉโท. ทสนปุพฺโพ, ฉทฺ สํวรเณ, อ, จฺสํโยโค.
  10. ทสพลจตุเวสารชฺชาทิสพฺพคุณปฏิมณฺฑิต : (วิ.) (พระสัพพัญญุตาญาณ) อันประดับเฉพาะแล้วด้วยคุณทั้งปวงมีญาณแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีกำลังสิบและญาณคือ ความเป็นแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีความครั่นคร้ามไปปราศแล้วสี่เป็นต้น. เป็น ต. ตัป. มี ฉ. ตุล., ฉ.ตัป., ฉ. ตุล., ณฺยปัจ. ภาวตัท., ส.ทิคุ., อว.กัม., อ.ทวัน., วิเสสนบุพ. กัม. ฉ..ตุล. และ วิเสสนบุพ. กัม. เป็นภายใน. ลบ ญาณ ทั้งสองศัพท์.
  11. ทสฺสนีย : (วิ.) ควรซึ่งอันเห็น, ควรซึ่งอันดู, ควรเพื่ออันเห็น, ควรเพื่ออันดู, น่าดู, น่าชม, งาม, ทัศนีย์, ทรรศนีย์, ทัศไนย. วิ. ทสฺสนํ ทสฺสหตฺถํ วา อรหตีติ ทสฺสนิโย. ทสฺสน+ อียํ ปัจ. ฐานตัท. กัจฯ และรูปฯ ลง อิย ปัจ. ได้รูปเป็น ทสฺสนีย. ทสฺสนีย ที่ เป็นกริยานั้น เป็น ทสฺ ธาตุ อนีย ปัจ. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส. ส. ทรฺศนีย.
  12. ทิยฑฺฒโยชนสติกมคฺค : (ปุ.) ทางอัน ประกอบแล้วด้วยร้อยแห่งโยขนืที่สองทั้ง กึ่ง, ทางอันประกอบด้วยร้อยห้าสิบโยชน์, ทางหนึ่งร้อยห้าสิบโยชน์. เป็น วิเสสน-บุพ. กัม มี ฉ. ตัป., วิเสสหบุพ. กัม. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
  13. ทิยฑฺฒสหสฺสนาฏกิตฺถีปริวาร : (วิ.) มีหญิง ฟ้อนมีพันที่สองทั้งกึ่งเป็นประมาณเป็นบริวาร. เป็น ฉ. ตัป. มี วิเสสนบุพ. กัม., วิเสสนบุพ. กัม., ฉ. ตุล., และ วิเสสนบุพ. กัม. เป็นภายใน.
  14. ทุกฺขปริชานนาทิกิจฺจ : (นปุ.) กิจมีอัน กำหนดรู้ซึ่งทุกข์เป็นต้น. เป็นวิเสสนบุพ. กัม. มี ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นภายใน.
  15. ธมฺมจริยา : (อิต.) ความประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมสฺส จริยา ธมฺมจริยา. ทุ.ตัป. การประพฤติเป็นธรร,ความประพฤติเป็นธรรม. วิ. ธมฺโม จริยา ธมฺมจริยา. วิเสสนบุพ. กัม. เจตนาเป็นเครื่องประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรติ เอตายาติ ธมฺมจริยา. ญฺย ปัจ. ไม่ทีฆะ อิ อาคม รูปฯ ๖๔๔. การประพฤติธรรมคือการประพฤติปฏิบัติตามกุศลกรรมบท ๑๐.
  16. ธมฺมปทภาณกมหาติสฺสตฺเถร : (ปุ.) พระ เถระชื่อว่าติสสะผู้ใหญ่ผู้กล่าววึ่งบทแห่งธรรม. เป็นวิเสสนปุพ. กัม. มี สัม กัม., วิเสสนบุพ. กัม. , ฉ.ตัป. และ ทุ.ตัป. เป็นภายใน.
  17. ธุต ธูต : (วิ.) กำจัด, ขจัด, ขัดเกลา, ไหว, หวั่นไหว, สั่น, สบัด, สลัด, กระดิก. ธุ วิธุนนกมฺปเนสุ, โต. ศัพท์หลังทีฆะ หรือตั้ง ธู วิธูนเน.
  18. นมสฺสนา, นมสฺสา : อิต. ดู นมสฺสน
  19. นมสฺสิยา : อิต. ดู นมสฺสน
  20. นวสปฺปิสงฺขตขีรยาคุ : (อิต.) ข้าวยาคูอัน บุคคลต้มแล้วด้วยน้ำนมอันปรุงแล้วด้วย เนยใสใหม่. เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ต ตัป., วิเสสนบุพ. กัม. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
  21. นิจฺฉาเทติ : ก. เขย่า, สั่น, แกว่งไปมา
  22. นิวตฺถปิโลติกขณฺฑ : (นปุ.) ท่อนแห่งผ้าเก่า อันบุคคลนุ่งแล้ว. เป็น ฉ. ตัป, มี วิเสสน- บุพ. กัม. เป็นท้อง.
  23. ปริปฺลว : ค. สั่น, เอียง, ระส่ำระสาย, เร่ร่อนไป, ไหว, สั่น, โยก, เรรวน, เลื่อนลอย
  24. ปริปฺลวติ : ก. สั่น, ระส่ำระสาย, เร่ร่อนไป, ไหว
  25. ผนฺทน : (วิ.) ไหว, สั่น, เคลื่อน, เต้นตุบๆ, เขม่น, โยกโคลง. ผทิ กิญฺจิจลเน, ยุ.
  26. ผุนติ, ผุนาติ : ก. สั่น, หวั่นไหว, โคลงเคลง, ฝัด, โปรย, พรม
  27. โผฏ : (วิ.) นูน, บวม, ฟกช้ำ, แตก. ผุฏฺ อนฺนตสํสิเลสนเภทเนสุ, โณ.
  28. พฺยคฆีนส : (ปุ.) เหยี่ยว, นกเหยี่ยว. สตฺตานํ หึสนโต พฺยคฺโฆ วิย พฺยคฺฆี, สตฺเตนาเสตีตินโส. พฺยคิฆี เอว นโส พฺยคฺฆีนโส.
  29. พฺยถน : (วิ.) เป็นทุกข์, ลำบาก, รบกวน, สะดุ้ง, กลัว, ไหว, สั่น, รัว, สั่นรัว.
  30. พริหิติณ พริหิส : (นปุ.) หญ้าคา, ข่า. วรหฺ ปาธานิยปริภาสนหีสาทาเนสุ, อิโส.
  31. ภิติ ภีติ : (อิต.) ความกลัว, ฯลฯ. ติ ปัจ. ศัพท์ต้น รัสสะ อี เป็น อิ. ดู ภึสน.
  32. ภิสน : (วิ.) น่ากลัว, น่าหวาดเสียว, น่าสะดุ้ง, น่าสพึงกลัว. ภี ภเย, ยุ. รัสสะ อี เป็น อิ นิคคหิตอาคม. และ สฺ อาคม หรือ ลง รึสน ปัจ. หรือ ภิสิ ภเย.
  33. มนุญฺญ : (วิ.) อันยังใจให้ฟูขึ้น, อันยังใจให้สูงขึ้น, อันยังใจให้ยินดีโดยยิ่ง, เป็นที่ชอบใจ, เป็นที่พึงใจ, เป็นที่พอใจ, เป็นที่ฟูใจ, เป็นที่เจริญใจ, ถูกใจ, พึงใจ, พอใจ, ประเสริฐ, เลิศ, งาม, ดี, ดีนัก. วิ. มนํ ญาเปตีติ มนุญฺญ. มนปุพฺโพ, ญปฺ โตสเน, กฺวิ. แปลง อ ที่ น เป็น อุ ลบ ปฺ ซ้อน ญฺ. มนํ อาภุโส โตเสตีติ วา มนุญฺญ. มนโส โตสนชนนํ วา มนุญฺญ.
  34. โลมหส : ป., โลมหํสน นป. ขนชูชัน
  35. วิกฺโขเภติ : ก. สั่น, ทำให้สะเทือน, รบกวน
  36. เวธติ : ก. สั่น, เจาะ, แทง
  37. สงฺกมฺปติ : ก. หวั่นไหว, สั่น
  38. สมฺมปฺปญฺญา : (อิต.) ปัญญาชอบ. เป็นวิเสสนปุพ. กัม. ปัญญาโดยชอบ. เป็น ต. ตัป.
  39. สมฺมปฺปธาน : (นปุ.) ความเพียรอันบุคคลตั้งไว้แล้วโดยชอบ, ความเพียรอันบุคคลพึงตั้งไว้โดยชอบ, ความเพียรอันบุคคลตั้งไว้โดยชอบ, ความเพียรที่ตั้งไว้ชอบ. ต. ตัป. ความเพียรชอบ. วิเสสนบุพ. กัม. สมฺมา+ปธาน รัสสะ อา เป็น อ.
  40. สมฺมาสงฺกปฺป : (ปุ.) ความดำริโดยชอบ. ต. ตัป. ความดำริชอบ. วิเสสนบุพ. กัม.
  41. สมฺมาสติ : (อิต.) ธรรมเป็นเครื่องระลึกชอบ. วิ, สมฺมา สรนฺติ เอเตนาติ สมฺมาสติ. สมฺมาปุพฺโพ, สรฺ จินฺตายํ, ติ, รฺโลโป. ความระลึกชอบ. วิ. สมฺมา สติ สมฺมาสติ. วิเสสนบุพ. กัม.
  42. สรล : (ปุ.) สน, มะสัง. วิ. สรติ กาลนฺตรนฺติ สรโล. สรฺ จินตายํ, อโล.
  43. สหสฺสกฺข : (ปุ.) เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่ง, เทวดาผู้มีพระเนตรหนึ่งพัน, เทวดาผู้เห็นซึ่งนัยพันหนึ่ง, สหัสสักขะ ชื่อของพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. สหสฺสานิ อกฺขีนิ ยสฺส โส สหสฺสกฺโย. สหสฺสสฺส พหุนฺนํ เทวมนุสฺสานํ จินฺติตตฺถสฺส ทสฺสนสมตฺถตาย สหสฺสกฺโข. สหสฺสํ วา อตฺถํ มุหุตฺเตน จินฺเตสิ ตฺสฺมา สหสฺสกฺโขติ วุจฺจติ. แปลง อกฺขิ เป็น อกฺข.
  44. สาน : (ปุ.) หมา, สุนัข. วิ. สามิกสฺส วจนํ สทฺทํ วา สุณาตีติ สาโน. สุ สวเน, ยุ, อุสฺส อาการตฺตํ. สุนฺ คติยํ วา, อ. สาโณ ปิ. รูปฯ ตั้ง สุนศัพท์ แปลง อุน เป็น อาน.
  45. สุกรเปต : (ปุ.) เปรตมีศรีษะเพียงดังศรีษะแห่งสุกร. เป็น วิเสสนบุพ.กัม. มี ฉ.อุปมพหุพ. เป็นท้อง.
  46. สุญฺญ : (วิ.) ว่าง, เปล่า, ว่างเปล่า, สงัด, หาแก่นมิได้, ไม่มีอะไร, หายไป, หายสิ้นไป, สูญ (หมด ไม่มีอะไรเหลือ). วิ. สุนสฺส หิตํสุญฺญํ (เกื้อกูลแก่การไป). สุน+ย ปัจ. ลบ อ ที่ น เป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ สุนติ ตุจฺฉภาวํ คจฺฉตีติ วา สุญฺญํ. สุนฺ สคติยํ, โย. ส.ศุนย.
  47. สุณ : (ปุ.) สุนัข, หมา, หมาใน. วิ. สามิกสฺส วจนํ สุณาตีติ สุโณ. สุ สวเน, ยุ.แปลง น เป็น ณ, อถวา, สุนฺ คติยํ สทฺเท วา, อ แปลง น เป็น ณ. รูปฯ ๖๔๗ ตั้ง สุน ศัพท์ แปลง อุน เป็น อุณ.
  48. สุณข : (ปุ.) สุนัข, หมา. วิ. สุนฺทรํ นข เมตสฺสาติ สุณโข. อถวา, สุนฺ คติยํ สทฺเท วา, โข. แปลง น เป็น ณ. หรือตั้ง สุน ศัพท์ แปลง อุน เป็น อุณข อภิฯ.
  49. สุปุปฺผิตตรุณวนสณฺฑมณฺทิต : (วิ.) (ป่าท.) อันประดับแล้วด้วยชัฎแห่งป่าแห่งต้นไม้ มีดอกอันบานดีแล้วและต้นไม้มีดอกอ่อน. เป็น ต.ตัป. มี ฉ. ตัป. วิเสสนบุพ. กัม. ฉ. ตุล. ฉ. ตุล. อ. ทวัน. และ ฉ. ตัป. เป็นภายใน.
  50. สุริยตฺถงฺคมนกาล : (ปุ.) กาลอันถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้แห่งพระอาทิตย์, กาลเป็นที่อัสดงคนแห่งพระอาทิตย์. วิ สุริโย อตฺถํ คจฺฉติ เอตฺถาติ สุริยตฺถงฺคมโน (กาโล). ยุ ปัจ. นามกิตก์. สุริยตฺถงฺ คมโน จ โส กาโล จาติ สุริยตฺถงฺคมนกาโส. วิเสสนบุพ. กัม.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-329

(0.0492 sec)