Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ภา , then , ภะ, ภา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ภา, 359 found, display 101-150
  1. ภา : (นปุ.) เช้า วิ. ปภาตฺยสฺมึ โลโกติ ปภาตํ. ปปุพฺโพ, ภา ทิตฺติยํ, โต.
  2. ภา : (วิ.) ยัง...ให้สว่าง, ยัง...ให้รุ่งเรือง, ยัง...ให้ผุดผ่อง. ปปุพฺโพ, ภา ทิตฺติยํ, โส. ภาสุ ทิตฺติยํ วา, อ. ลง เณ ปัจ. เหตุ. แล้วลบ. สว่าง, รุ่งเรือง, ผุดผ่อง. ๓ คำแปลนี้ ไม่ลงเณ ปัจ.
  3. ปุรตฺถา : (อิต.) ทิศตะวันออก, ทิศบูรพา. ปุรปุพฺโพ, ภา คตินิวุตฺติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา. อภิฯ จัดเป็น อัพ.นิบาต ลงในอรรถทิศตะวันออก.
  4. สนฺนิภ : (วิ.) คล้าย, เช่นกัน. สํ นิ ปุพฺโพ, ภา ทิตฺติยํ, อ. ส. สนฺนิภ.
  5. ภา : (นปุ.) ที่รุ่งเรืองด้วยสัตบุรุษ, ที่ประชุม, ที่ชุมนุม, ที่ชุมนุมคน, สภา. วิ. สนฺเตหิ ภาตีติ สภายํ. สนฺตปุพฺโพ, ภา ทิตฺติยํ, โย, สนฺตสฺส สตฺตํ.
  6. อาภา : (อิต.) รัศมีอันรุ่งเรืองโดยยิ่ง, รัศมี, แสงแสงสว่าง, ความสว่างความรุ่งเรือง. อาปุพฺโพ, ภา ทิตฺติยํ, อ.อภิฯ ลง กฺวิปัจ. ส.อาภา
  7. ภสฺสร : (วิ.) แจ่มใส, ผ่องใส, ผุดผ่อง, รุ่งเรือง. ภา ทิตฺติยํ, สโร. รัสสะ อา เป็น อ แปลง ส เป็น สฺส.
  8. ภากร : (ปุ.) พระอาทิตย์. ภา+กร.
  9. ภาสุร : (วิ.) แจ่มใส, เปล่งปลั่ง, ผุดผ่อง, สวยงาม, สว่าง, ส่องสว่าง, รุ่งเรือง, มีรัศมี. ภา ทิตฺติยํ, สโร, อสฺสุ, ภาสุ ทิตฺติยํ วา, อุโร.
  10. เภก : (ปุ.) กบ วิ. สปฺปโต ภา-ยตีติ เภโก. ภี ภเย, อิโก, อิสฺส เอ. อถวา, ภายนฺติ เอตสฺมาติ เภโก. ภี ภเย, โก.
  11. ภา : (อิต.) โรงเป็นที่กล่าวกัน, โรงเป็นที่ประชุมกล่าว, ภูมิที่ประชุม, ที่ประชุม, ที่ชุมนุม, ที่ชุมนุมกัน, การชุมนุมกัน, การเจรจากัน. วิ. สนฺเตหิ ภาติ ทิปฺปตีติ สภา(ที่รุ่งเรืองด้วยสัตบุรุษ). สนฺตปุพฺโพ. ภาทิตฺติยํ, กฺวิ. สนฺตสฺส สาเทโส. สํคมฺม ภนฺติ เอตฺถาติ วา สภา. ภา อาขฺยาเน. สห ภนฺติ ยสฺสนฺติ วา สภา. หโลโป. สพฺพมฺหิ ภาตีติ วา สภา. ส. สภา.
  12. อาภา : (นปุ.) รัศมี, ฯลฯ.อา+ภา+ยุปัจ.
  13. อาภา : (ปุ.) รัศมี, ฯลฯ.อา+ภา+ส ปัจ. ส. อาภาส.
  14. ภควนฺตุ : (ปุ.) พระผู้มีพระภาคเจ้า. ศัพท์นี้ใช้เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าเท่านั้น และใช้เป็น ๓ วจนะ คือ เอกวจนะ ท๎วิวจนะ และ พหุวจนะ ใช้เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวงด้วย ที่เป็น อาลปนะ แปลว่า พระพุทธเจ้าข้า ได้. พระนามนี้มีอรรถมากตามธาตุ. ภชฺ เสวายํ ภาชเน จ ทาเน จ. ภญฺชฺ อวมทฺทเน, วนฺตุ ปัจ. แปลง ช เป็น ค ถ้าตั้ง ภญฺชฺ ธาตุ พึงลบ ญฺ สังโยค. ไตร. ๒๙, ๓๐.
  15. ภวาภว : (ปุ.) ความเป็นอยู่และภาวะมิใช่ความเป็นอยู่, ภพแลภพอันเจริญ, ภพและภาวิมิใช่ภพ, ภพน้อยภพใหญ่, ความเจริญและความเสื่อม.
  16. คนฺธกุฏี : (อิต.) กุฏีอบแล้วด้วยของหอมอันเป็น ทิพย์ วิ. ทิพฺพคนฺเธหิ ปริภาวิตา กุฏี คนฺธกุฏี. พระคันธกุฎี กุฎิที่พระพุทธเจ้า ประทับ วิ. ชินสฺส วาสภูตํ ภวนํ คนฺธกุฎี นาม.
  17. ตุณฺหีภา : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีความนิ่ง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้นิ่ง, ความเป็น ผู้นิ่ง. วิ. ตุณฺหิสฺส ภาโว ตุณฺหีภาโว. ตุณฺหี ภวนํ วา ตุณฺหีภาโว. ไทยใช้ ดุษณีภาพ หมายถึง อาการนิ่งที่แสดงอาการยอมรับ.
  18. ภา : (วิ.) อันเขาแบ่ง วิ. ภชียตีติ ภาโค. ภชฺ ภาชเน, โณ, ชสฺส โค.
  19. กตญฺญุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุคคลอื่นทำแล้วแก่ตน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุพการีชนทำแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้กตัญญู, ความเป็นผู้กตัญญู. วิ. กตญฺญุสฺส ภาโว กตญฺญุตา. รัสสะ อู เป็น อุ ในเพราะ ตา ปัจ. รูปฯ ๓๗๑. ความกตัญญู ลง ตา ปัจ. สกัด. มีสำนวนแปลอีก ดู กตญฺญู.
  20. กรณฺฑ : (ปุ. นปุ.) หม้อ, หม้อน้ำ, ภาชนะน้ำ, ภาชนะ มีฝาปิด, กะทอ, ตะกร้า, เข่ง, หีบ, ตลับ, ผอบ (ผะอบ), ขวด, กระติก, คราบ (งู), เตียบ (ตะลุ่มปากผาย มีฝา ครอบ สำหรับใส่ของกิน), อวน, กรัณฑ์. วิ. กรียตีติ กรณฺโฑ. กรฺ กรเณ, อณฺโฑ. กรณฺฑิ ภาชนตฺเถ วา, อ. อภิฯ. กัจฯ ๖๖๓ วิ. กรณฺฑิตพฺโพ ภาเชตพฺโพติ กรณฺโฑ. ก ปัจ. ลบ ก เป็น กรณฺฑก โดยไม่ลบ ก หรือลง อ ปัจ. ตามอภิฯ ก็ ลง ก สกัด บ้าง. ส. กรณฺฑ.
  21. กรมรานีต : (ปุ.) คนผู้อัน...นำมาแล้วด้วยความเป็นแห่งเชลย, ทาสเชลย. วิ. กรมรภาเวน อานีโต กรมรานีโต.
  22. กลห : (ปุ.) วาทะเป็นที่โต้เถียง วิ. กลหนฺติ อสฺมินฺติ กลโห. กลหฺ กุจฺฉเน, อ. วาจา เป็นเครื่องโต้เถียง วิ. กลียติ ปริมียติ อเนน สูรภาวนฺติ กลโห. กลฺ สํยฺ ยาเณ, โห. ลง อ ปัจ. ประจำธาตุก่อนแล้วลง ห ปัจ. การ ทะเลาะ, การวิวาท, ความทะเลาะ. ความวิวาท, ความทุ่มเถียง วิ. กลหนํ กลโห. ส. กลห.
  23. การณฺฑว : (ปุ.) นกเป็ดน้ำ, นกค้อนหอย. กรณฺฑฺ ภาชนตฺเถ, อโว.
  24. การุญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งความเอ็นดู, ความเป็นแห่งความสงสาร, ความเป็นแห่ง ความกรุณา. วิ. กรุณาย ภาโว การุญฺญํ. ณฺยปัจ. ภาวตัท. ความเอ็นดู, ความสงสาร, ความกรุณา, การุณย์. ณฺย ปัจ. สกัด รูปฯ ๓๗๑. ส. การุณฺย.
  25. กุกฺกุจฺจ : (นปุ.) ความรำคาญ, ความเดือดร้อน, ความสงสัย, ความรังเกียจ (ความรู้สึกสะ อิดสะเอียนในการทำความชั่ว). วิ. กุจฺฉิตํ กโรตีติ กุกฺกตํ. จิตฺตํ; ตํสมงฺคี วา, ตสฺส ภาโว วา กุกฺกุจฺจํ. กุจฺฉิตํ กุตํ กุกฺกุตํ. ตสฺส ภาโว กุกฺกุจฺจํ. กุกฺกุจฺจก
  26. กุญฺช กุญฺชนิ : (ปุ. นปุ.) ท้องแห่งภูเขาอัน สะสมด้วยเถาวัลย์และหญ้าเป็นต้น (ปพฺพ ภาทีนํ คพฺภรเทเส ลตาปลฺลวติณา ทีหิ ปิหิโตทเร)., หุบเขา. กุญฺชฺ อพฺยตฺตสทฺเท, อ, นิ.
  27. กุรุ : (ปุ.) กุรุ ชื่อชนบท ๑ ใน ๒o ของอินเดีย โบราณ วิ. ธมฺมตา สิทฺธสฺส ปญฺจสีลสฺส อานุภาเวน กํ สุขํ อุรุ มหนฺตา เอตฺถาติ กุรุ. กํ ปาปํ รุนฺธติ เอตฺถาติ วา กุรุ. กุปุพฺโพ, รุธิ อาวรเณ, กฺวิ. กุรติ กิจฺจากิจฺจํ วทตีติ วา กุรุ. กุรฺ สทฺเท. อุ. เป็น กุรู ด้วยรุฬ- หิเภทบ้าง.
  28. เกลาสกูฏปฏิภา : (วิ.) มีส่วนเปรียบด้วยยอด แห่งภูเขาชื่อว่าไกลาส มี วิ. ดังนี้. สัมภาวนปุพฺ กัมฺ เกลาโส อิติ ปพฺพโต เกลาสปพฺพโต. ฉ. ตัป. เกลาสปพฺพตสฺส กุโฏ เกลาสกูโฏ. ฉ. ภินน. พหุพ. เกลาสกูเฏน ปฏิภาโค เยน โส เกลาสกูฏปฏิภาโค (วรวารโณ).
  29. โกสล : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนฉลาด, ความเป็นคนฉลาด, ความเป็นผู้ฉลาด. วิ. กุสลสฺส ภาโว โกสลฺลํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท.
  30. โกหญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยัง สกุลให้พิศวง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยังโลก (ชาวโลก) ให้พิศวง. วิ. กุหกสฺส ภาโว โกหญฺญํ. กุหก+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง กฺย เป็น ญฺญ ดูโกสชฺช ด้วย.
  31. ขณฺฑิจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีฟันหัก วิ. ขณฺฑิกสฺส ภาโว ขณฺฑิจฺจํ. ขณฺฑิก+ณฺย ปัจ. แปลง ก เป็น จ ลบ อ ที่ จ ลบ ณฺ รวม เป็น จยฺ แปลง เป็น จฺจ.
  32. โขม : (นปุ.) ผ้าทอด้วยเปลือกไม้, ผ้าเปลือก ไม้, ผ้าขาว?, ผ้าป่าน, ผ้าใยไหม (ผ้า ลินิน), ผ้าโขมะ, โขมพัตถ์ (ผ้าทำด้วย เยื่อไม้). วิ. ตนุรุหํ ขายติ (ขุยฺยติ) อุตฺตมภาเวนาติ โขมํ. ขุ สทฺเท, โม. ขุมาย วา วิกาโร โขมํ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  33. คคฺครี : (อิต.) ภาชนวิกัติสำหรับคนนมให้เป็น เนย วิ. คคฺค อิติ สทฺทํ ราตีติ คคฺครี. คคฺคปุพฺโพ, รา อาทาเน, อี.
  34. คารว : (ปุ.) การยกไว้เป็นของสูง, การยกไว้ในเบื้องสูง, การนับถือ, การนบนอบ, การเคารพ, ความนับถือ, ฯลฯ. วิ. ครุโนภาโว คารโว (ความเป็นแห่งผู้หนัก). ณ ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว. ทีฆะ อ ที่ ค เป็น อา, รูปฯ ๓๗๒ ว่า แปลง อุ เป็น อว. ส. เคารว.
  35. เคลญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งความเจ็บ, ความเป็นแห่งความเจ็บไข้, ฯลฯ, ความเป็นแห่งคนเจ็บ, ฯลฯ. วิ. คิลานสฺส ภาโว เคลญฺญ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ความเจ็บ, ฯลฯ, ความไม่สบาย, โรค. ณฺย ปัจ. สกัด.
  36. โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
  37. โคตฺตภู โคตฺรภู : (ปุ.) ธรรมอันครอบงำ โคตร ปุถุชนยังโคตรอริยะให้เกิด, ธรรม ( คือ อารมณ์ที่เกิดกับใจ ) อันยังเชื้อชาติแห่ง มหัคคตะหรือเชื้อชาติแห่งโลกุตตระให้ เจริญ วิ. มหคฺคตสฺส โลกุตฺตรสฺส วา โคตฺตํ ภาเวติ วุฑฺเฒตีติโคตฺตภู โคตฺรภู วา รูปฯ ๑๙๙ ว่า โคตฺตภู โคตฺรภู เป็น อูการันต์ นปุ. และรัสสะเป็น อุ เป็น โคตฺตภุ โคตฺรภุ เป็น อูการันต์ นปุ. และรัสสะเป็น อุ เป็น โคตฺตภุ โคตฺรภุ ได้ แปลว่า จิตอัน ครอบงำ โคตรปุถุชน ยังโคตรอริยะให้เกิด, จิตอัน ยังเชื้อชาติแห่งมหัคคตะหรือเชื้อชาติแห่ง โลกุตตระให้เกิด, ชวนจิตอันยัง...ให้เกิด.
  38. จสก : (ปุ.) ขัน (ภาชนะสำหรับตักหรือใส่น้ำ), จอก (ภาชนะเล็กๆสำหรับตักน้ำในขัน ใหญ่), กระบวย (ภาชนะสำหรับตักน้ำทำ ด้วยกะลามะพร้าว มีด้ามถือ ทำด้วยสิ่ง อื่นๆบ้าง), แก้วน้ำ. จสฺ ภกฺขเณ, อ, สตฺเถโก. อภิฯ และฎีกาฯ ลง ณฺวุ ปัจ.
  39. จาปลฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ประดิษฐ์ ประดอย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ประพฤติ โดยพลัน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้พลิก แพลง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้โลเล, ฯลฯ. จปลสฺส ภาโว จาปลฺยํ. ณฺย ปัจภาวตัท. การชอบตกแต่ง, ฯลฯ. ณฺย ปัจ. สกัด.
  40. จุจฺจุ : (อิต.) มัน, เผือก. จจฺจฺ ปริภาสนตชฺชเนสุ, อุ, อสฺสุ (แปลง อ ที่ จ เป็น อุ).
  41. จุลฺลิ : (นปุ.) เตา, เตาไฟ, เชิงกราน, ปล่อง, หม้อดิน จุลฺลฺ ภาวกรเณ, อิ. ฎีกาอภิฯ จุลฺล หาวกรเณ.
  42. เจติย : (ปุ.) เทวาลัย, ถูป (เจดีย์), สตูป (เป็นภา ษาสันสกฤต), สถูป (มาจาก สตูป แปลง ต เป็น ถ), เจดีย์ ชื่อสิ่งที่ก่อสร้างขึ้น มีรูป คล้ายลอมฟาง มียอดแหลม สำหรับบรรจุ สิ่งที่เคารพนับถือ สิ่งอื่นๆ เช่นต้นไม้ เป็น ต้นที่นับถือ (เชื่อว่า) มีเทวดาสถิตอยู่ ก็นับ เข้าเจดีย์ได้. วิ. เจตพฺพนฺติ เจติยํ. จิตฺ ปูชายํ, โณฺย. อิอาคโม. ย ฐาน ชเนหิ อิฏฺฐกาทีหิ เจตพฺพ ตสฺมา ต ฐาน เจติย. จิตฺจยเน, ณฺย, อิ อาคโม.
  43. ฌชฺฌรี : (อิต.) มะรุม ต้นไม้ชนิดหนึ่ง ฝักยาว ใช้แกงส้ม, ผักไห่ ชื่อ ผักชนิดหนึ่งใช้ทำ ยา, ผักปลัง มีสองชนิด เถามีสีครั่งอ่อน อย่าง ๑ เถาสีเขียวอ่อนอย่าง ๑, ผักทอด ยอด (ผักบุ้ง), ฌชฺฌฺ ปริภาสนตชฺชเนสุ, อโร, อิตฺถิยํ อี.
  44. ติโรปพฺพต : (นปุ.) ภายนอกแห่งภูเขา, นอก ภูเขา, นอกเขา. วิ. ปพฺพตสฺส ปรภาโค ติโรปพฺพตํ รูปฯ ๓๒๓ .
  45. ติวงฺคุล : (นปุ.) องคุลีสาม, สามองคุลี.วิ. ติสฺโส องคุลิโย ติวงฺคุลํ. วฺ อาคม. องฺคุลิยา ภาโว องฺคุลํ. แปลง องฺคุลี เป็น องฺคุล.
  46. ตุลา : (อิต.) ขื่อ, เสาขื่อ, ไม้ขื่อ, รอด, เสาดั้ง. วิ. ตุลยติ สํฆาเฏสุ ปติฏฐาตีติ ตุลา. ตุลฺ ปติฏฐายํ, อ, อสฺสุตฺตํ. ปกฺขานํ สมตาหิต ภาวกรณโต ตุลยติ เอตายาติ วา ตุลา. ตุลฺ อุมฺมาเณ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  47. ตุวฏ : (วิ.) รีบ, เร็ว, รวดเร็ว, พลัน, ด่วน. วิ. ตุริตภาวเน วฏฺฏตีติ ตุวฏํ. ตุริตปุพฺโพ. วฏฺฏฺอาวตฺตเน, อ, ริตโลโป, สํโยคโลโป จ. อภิฯ ตั้ง ตุวฏฺฏ ธาตุ ในความนอน ด้วย?เป็น ตุวฏฏ โดยไม่ลบ สังโยคบ้าง.
  48. ทฺวิภา : (ปุ.) ความเป็นแห่งของสองสิ่ง วิ. ทฺวินฺนํ ภาโว ทฺวิภาโว. ฉ. ตัป.
  49. ทายชฺช : (นปุ.) ทรัพย์อันเป็นประโยชน์ เกื้อกูลแก่บุคคลผู้ถือเอาซึ่งทรัพย์อันมารดาและบิดาพึงให้ วิ. ทายาทสฺส หิตํ ธนํ ทายชฺชํ. ณฺยปัจ. ชาตาทิตัท. รูปฯ ๓๖๓. ความเป็นแห่งบุคคลผู้ถือเอาซึ่งทรัพย์ อัน...พึงให้, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รับ ทรัพย์มรดก, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รับมรดก. วิ. ทายาทสฺส ภาโว ทายชฺชํ. ทายาท+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ อา ที่ ยาลบ อ ที่ ท ลบณฺ รวมเป็น ทายทฺย แปลง ทฺย เป็น ชฺช.
  50. ทาสพฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบ่าว, ฯลฯ. วิ. ทาสสฺส ภาโว ทาสพฺยํ พฺย ปัจ. หรือ ณฺย ปัจ. วุ อาคมท้ายศัพท์.
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-359

(0.0378 sec)