อภิญฺญา : (อิต.) ความรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง, ความตรัสรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง, ปัญญาอันบุรุษพึงรู้ยิ่ง, ปัญญาเครื่องรู้ยิ่ง, ความรู้ยิ่ง, ความฉลาด, ปัญญา, กฏหมาย.
อภิญฺญาณ : (นปุ.) ความรู้ยิ่ง, ความรู้อย่างสูง, เครื่องหมาย, รอย.
อภิฐาน : (นปุ.) ฐานยิ่ง, ฐานะอย่างหนัก, อภิฐานะชื่อของความผิดสถานหนักมี๖อย่างคืออนันตริยกรรม๕ การปฏิญญาณรับถือศาสนาอื่นในขณะที่ครองเพศบรรพ-ชิตเป็นข้อที่ ๖.
อภิณฺหปจฺจเวกฺขณ : (นปุ.) การพิจารณาเนือง ๆ, ฯลฯ.อภิณหปัจจเวกขณะชื่อธรรม หมวดหนึ่งซึ่งทรงสอนให้พิจารณาทุกวัน ๆเพื่อให้รู้ตามความเป็นจริงมี ๕ ข้อ.
อภิตาป : ป. ความร้อนยิ่ง, ความแผดเผา
อภิถุตอภิตฺถุต : (ปุ.) ความเริ่มแห่งราตรี, ความเริ่มต้นแห่งราตรี, พลบ, พลบค่ำ, เวลาเย็น.วิ.โทสายรตฺติยาอารมฺโภอภิโทโส.อถวาอภิทุสฺสนฺติสพฺพกมฺมานีติอภิโทโส
อภิถุต อภิตฺถุต : (ปุ.) ความเริ่มแห่งราตรี, ความเริ่มต้นแห่งราตรี, พลบ, พลบค่ำ, เวลาเย็น. วิ. โทสาย รตฺติยา อารมฺโภ อภิโทโส. อถวา อภิทุสฺสนฺติ สพฺพกมฺมานีติ อภิโทโส
อภิธมฺมตฺถสงฺคห : (นปุ.) ปกรณ์เป็นที่ย่อเข้าถือเอาซึ่งเนื้อความอันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วในพระอภิธรรม.
อภินนฺทน : (นปุ.) ความชื่นชม, ความยินดี, ความยินดียิ่ง, ความชอบใจ, ความชอบใจยิ่ง.ส.อภินนฺท.
อภินนฺทนา : (อิต.) ความชื่นชม, ความยินดี, ความยินดียิ่ง, ความชอบใจ, ความชอบใจยิ่ง.ส.อภินนฺท.
อภินนฺทนาการ : (ปุ.) การทำด้วยความยินดียิ่ง, ความยินดียิ่ง.คำแปลหลังนี้การ เป็นศัพท์สกัด.
อภินนฺทิต : กิต; นป. ความยินดี, ความบันเทิง
อภินิปฺผตฺติ : อิต. การผลิต, ความสำเร็จ
อภินิพฺพตฺติ : (อิต.) ความบังเกิดยิ่ง, ความบังเกิด.
อภินิพฺพิทา : อิต. ความเบื่อหน่ายโลก
อภินิโรปน : (นปุ.) การยกขึ้นเฉพาะ, ความยกขึ้นเฉพาะ, การยกขึ้น, ความยกขึ้น.
อภินิโรปนา : (อิต.) การยกขึ้นเฉพาะ, ความยกขึ้นเฉพาะ, การยกขึ้น, ความยกขึ้น.
อภินิเวส : ป. ความยึดมั่น, ความโน้มน้าว, ความประสงค์
อภินีหาร : ป. ๑. การนำออก;
๒. ความปรารถนาที่ตั้งใจจริง
อภิบทฺทน : (นปุ.) การข่มเหง, การย่ำยี, การเหยียบย่ำ.อภิบทหน้ามทฺทธาตุในความเหยียบเป็นต้นยุปัจ.
อภิปฺปโมท : ป. การบันเทิง, ความปราโมทย์ยิ่ง
อภิปฺปสาท : ป. ความเลื่อมใส, ความเชื่อถือ
อภิปูรณต : นป. ความเต็ม, ความสมบูรณ์
อภิภวน : (นปุ.) การครอบงำ, การกดขี่, ความครอบงำ, ความกดขี่.
อภิภวนียตา : อิต. ความเป็นผู้อันใครๆ พึงครอบงำได้
อภิภายตน : นป. ฐานะหรือภาวะแห่งความมีอำนาจเหนือ
อภิภาสน : นป. การตรัสรู้, ความแจ่มแจ้งในใจ, ความดีใจ
อภิโยคี : ป. ผู้ปฏิบัติ, ผู้ประกอบความเพียร, ผู้ใคร่ครวญ
อภิโยพฺพน : นป. ความเป็นหนุ่มสาวยิ่ง
อภิรตตฺต : นป. ความเป็นผู้ยินดียิ่ง, ความเป็นผู้ชอบใจยิ่ง
อภิรติ : (อิต.) ความยินดียิ่ง, อภิรตี, อภิรดี.ส. อภิรติ.
อภิรทฺธิ : อิต. ความพอใจ, ความยินดียิ่ง
อภิรมน : นป. ความอภิรมย์, ความยินดียิ่ง
อภิรมาปน : นป. ความให้ยินดียิ่ง, ความให้เพลิดเพลิน
อภิรุ : (วิ.) ไม่มีความขลาด, ไม่ขลาด, ไม่กลัว.
อภิรุจิ : อิต. ความยินดี, ความพอใจ, ความปรารถนา
อภิโรปน : (นปุ.) การบำรุง, ความบำรุง.
อภิลกฺขิตตฺต : นป. ความเป็นคืออันกำหนด, ความตั้งใจไว้
อภิลาส : (ปุ.) อภิลาสะชื่อของตัณหา, ตัณหา, ความโลภยิ่ง, ความปรารถนา, ความยินดี, ความเพลิดเพลิน.อภิปุพฺโพ, ลสฺกนฺติยํ, โณ.ส.อภิลาษ.อภิลาส.
อภิลาสา : อิต. ความปรารถนา, ความอยาก
อภิวฑฺฒน : นป. อภิวฑฺฒิ, อิต. ความเจริญรุ่งเรือง, ความงอกงาม
อภิวทติ : ก. กล่าว, ประกาศ, กล่าวต้อนรับ, กล่าวแสดงความยินดี
อภิวิราเคติ : ก. คลายความกำหนัด, หมดความยินดี
อภิวุทฺธิ : อิต. ความเจริญรุ่งเรือง, ความเพิ่มขึ้น
อภิสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่ง, ความปรุงแต่ง.ณ ปัจ.แปลงกรฺเป็นขรฺแล้วทีฆะ.
อภิสญฺเจตยิต : นป., กิต. ความตริตรอง, ความมุ่งหมาย, ความตั้งใจ
อภิสญฺญา : อิต. ความจำได้หมายรู้
อภิสนฺถว : (ปุ.) ความชื่นชมยิ่ง, ความชมเชยยิ่ง, ความยกย่องยิ่ง, ความสรรญเสริญยิ่ง, ความชื่นชม, ฯลฯความสดุดี, การสดุดี
อภิสนฺถวนา : (อิต.) ความชื่นชมยิ่ง, ความชมเชยยิ่ง, ความยกย่องยิ่ง, ความสรรญเสริญยิ่ง, ความชื่นชม, ฯลฯความสดุดี, การสดุดี.
อภิสนฺทิ : อิต. อัชฌาสัย, ธรรมชาติผู้อาศัยจิตนอนอยู่, ความมุ่งหมาย