อลคฺคน : นป. ความไม่ติดข้อง
อลชฺชี : (วิ.) ผู้ไม่มียางอาย, ผู้ไม่มีความอาย, ผู้ไม่มีความกระดาก, ผู้หน้าด้าน.
อลปเตยฺยา : อิต. ผู้มีอายุพอจะแต่งงานได้, หญิงที่ถูกกล่าวว่า “พอละ” เป็นการแสดงความไม่พอใจของสามีไล่ให้เธอกลับไปหามารดาบิดา
อลฺล : (นปุ.?)ความพัวพัน.อลฺพนฺธเน, โล.
อลฺลิก : (วิ.) ประกอบด้วยความพัวพัน.อิกปัจ.
อลฺลียน : นป. ความติด, ความยึด, ความอยาก
อลวจน : (ปุ.) ความสามารถเพื่ออันกล่าววิ.วจนายอลํสมตฺโถติอลํวจโน.
อลสตา : อิต. ความง่วงเหงาหาวนอน, ความขี้เกียจ
อลสน : (นปุ.) ความเกียจคร้าน.วิ.นลสนํอลสนํ.
อลสฺส, อาลสฺส : นป. ความขี้เกียจ
อลาภ : ป. ความไม่มีลาภ, ความเสื่อมลาภ
อลีนตา : อิต. ความไม่หดหู่, ความไม่เฉื่อยชา, ความมีใจเปิดเผย, ความซื่อสัตย์สุจริต
อโลภ : (วิ.) มีความโลภหามิได้, ไม่มีความโลภ, ไม่โลภ.
อวกฺกนฺติ : อิต. การก้าวลง, การหยั่งลง, ความปรากฏ
อวกมฺปน : (นปุ.) การอนุเคราะห์, การเอ็นดู, การช่วยเหลือ, ความอนุเคราะห์, ฯลฯ, ความกรุณา.อวปุพฺโพ, กมฺปฺจลเน, ยุ.
อวขณฺฑน : (นปุ.) การขาด, ความเป็นท่อน.อวปุพฺโพ, ขฑิเฉทเน, ยุ.
อวคมน : (นปุ.) ความรู้, ฯลฯ, ยุปัจ.
อวจรณ : นป. นิสัย, ความประพฤติ, การงาน, ความเกี่ยวข้อง
อวชฺชตา : อิต. ใช้ในคำว่า อนวชฺชตา = ความไม่น่าติเตียน, ความไม่มีโทษ
อวชาตอวชาตปุตฺต : (ปุ.) บุตรผู้เกิดต่ำแล้ว, ลูกชั้นต่ำ, อวชาตบุตร (ลูกที่เกิดมามีความรู้ความสามารถและความประพฤติต่ำกว่าตระกูล).
อวชานน : (นปุ.) ความดูหมิ่น, ความดูถูก, ความดูแคลน.อวปุพฺโพ, ญาญาเณ, ยุ.
อวญฺญตฺติ : อิต. (ใช้ในคำว่า อนวญฺญตฺติ ) ความไม่ถูกดูถูก
อวญฺญา : (อิต.) ความดูหมิ่น, ฯลฯ, ความไม่เห็นแก่กัน. วิ. อวชานนํ อวญฺญา.อวปุพฺโพ, ญา ญาเณ, อ. อภิฯลงกฺวิปัจ.
อวฏฺฐิตตา : อิต. ความมั่นคง, ความยั่งยืน, ความถาวร
อวฏฺฐิติ : (อิต.) ความหยุดอยู่, ความตั้งอยู่, ความดำรงอยู่.อวปุพฺโพ, ฐาตคินิวตฺติยํ, ติ, อาสฺสิ (แปลงอาเป็นอิ), ฏฺสํโยโค.
อวฑฺฒิ : อิต. ความไม่เจริญ, ความเสื่อม
อวตฺถา : (อิต.) ความเป็นอยู่, ความดำรงอยู่, ความกำหนด, อวปุพฺโพ, ถาคตินิวตฺติยํ, อ, ตฺสํโยโค.ส.อวสฺถา.
อวตฺถาน : (นปุ.) การตั้งอยู่, ฯลฯ, ความตั้งอยู่, ฯลฯ.ยุปัจ.
อวทญฺญุต, อวทญฺญู : ค. ผู้ไม่เผื่อแผ่, ผู้ทำเป็นไม่รู้ความประสงค์ของผู้ขอ
อวทาปน : นป. ความสะอาด, ความหมดจด
อวธารณ : (นปุ.) การรับรอง, การรับไว้, การกำจัดลง, ความมั่นคง, คำมั่นคง.
อวธิ : (นปุ.) เขต, แดน, ความจำกัด, ความกำจัดลง, หลุม, ที่ต่ำ.อว+ธาธษตุอิปัจ.
อวน : (นปุ.) การรักษา, ความรักษา. อวฺรกฺขเณยุ.
อวโพธ : นป. อวพุชฺฌน, อิต. ความรู้, ความเข้าใจ, การตรัสรู้, การตื่น
อวมงฺคล : (นปุ.) อวมงคล (ไม่เป็นความเจริญ).เรียกงานทำบุญเกี่ยวกับการตายว่างานอว-มงคล.คือ งานที่ปรารภเหตุที่ทำให้เกิดความเศร้าโศกเสียใจ.
อวมงฺคล, อวมงฺคลฺล : ๑. นป. อวมงคล, ความไม่เจริญ ;
๒. ค. ไม่เจริญ, ไม่เป็นมงคล
อวมญฺญน : (นปุ.) ความสำคัญ, ความเข้าใจ.อวปุพฺโพ, มนฺญาเณ, ยุ.ลงยปัจ.ประ-จำหมวดธาตุก่อนเป็นนฺยแปลงนฺยเป็นญฺญแปลงยุเป็นอน.
อวมานอวมานน : (นปุ.) การดูหมิ่น, การดูถูกการดูแคลน, การไม่เห็นแก่หน้ากัน, ความดูหมิ่น ฯลฯ, วิ. เหฏฺฐากตฺวาชานนํอวมานนํวา.อวปุพฺโพ, มนฺญาเณ, โณ, ยุ.ในวิ. ใช้ชานนแทนมน.ส.อวมาน.
อวฺยตฺตตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่ฉลาดเฉียบแหลม ; ความไม่แสดงผลออกมาให้ปรากฏ
อวฺยยีภาว : ป. ความเป็นของไม่สิ้น ; เป็นชื่อของสมาสซึ่งมีอัพยยศัพท์เป็นบทประกอบ
อวฺยเยน : ก. วิ. โดยปราศจากความสิ้นเปลือง, โดยไม่หมดสิ้นไป
อวฺยสน : นป. ความไม่เสื่อมสูญ, ความไม่ฉิบหาย
อวฺยาปชฺชอวฺยาปชฺฌ : (นปุ.) ความไม่เบียดเบียน.น+วฺยาปชฺช, วฺยาปชฺฌ.
อวฺยาปชฺฌ : ๑. นป. การไม่เบียดเบียน, ความเป็นผู้มีใจกรุณา ;
๒. ค. ปราศจากการกดขี่, มีใจกรุณา
อวฺยาปนฺน : ค. ปราศจากความพยาบาท, ไม่มีความมุ่งร้าย
อวฺยาปาท : ป. ความไม่พยาบาท, ความไม่ปองร้ายผู้อื่น
อวฺโยสิต : ค. ไม่ถึงความสำเร็จ, ไม่ถึงที่สุด
อวโรธน : นป. การกีดขวาง, อุปสรรค ; ความผิด
อวเลป : (ปุ.) การชโลม, การลูบไล้, ความถือตัว, ความไว้ตัว, ความไว้ยศ, ความหยิ่ง, ความเย่อหยิ่ง, ความจองหอง, อติมานะ.วิ.อวลิมฺปนํอวเลโป.
อวสฺส : ค. ขัดกับความประสงค์, ซึ่งหลีกเลี่ยงไม่ได้