อสมฺมุฏฺฐ : อิต. ความไม่หลงลืม, ความมีสติ
อสมฺโมส, - โมห : ป. ความไม่หลงลืม, ความมีสติ, ความไม่หลงงมงาย
อสมาธิสวตฺติก : (วิ.) ไม่เป็นไปในสมาธิ, ไม่เป็นไปเพื่อความสงบจิต.
อสมิทฺธิ : อิต. ความไม่สำเร็จ, ความไม่เจริญ
อสฺมิมาน : (ปุ.) มานะว่า อ. เรามีอยู่, มานะว่าอ. เราเป็น, มานะว่าเรามีอยู่, มานะว่าเราเป็น, การถือว่าเราเป็นนั่นเป็นนี่, การถือตัว, การถือเราถือเขา, ความถือตัว, ความสำคัญว่ามีตัวตน, อัสมิมานะ.
อสฺสทฺธ : ค. ไม่มีศรัทธา, ไม่มีความเชื่อ
อสฺสทฺธิย : นป. ความเป็นผู้ไม่มีศรัทธา
อสฺสม : (ปุ.) ประเทศเป็นที่มารำงับความโกรธ.วิ. อา โกธํสเมนฺติเอตฺถาติอสฺสโม.ประเทศเป็นที่ยังราคาทิกิเลสให้ระงับวิ.อาภุโสสเมนฺติ ราคาทโย เอตฺถาติ อสฺสโม.อาปุพฺโพ, สมุ อุปสเม, อ, อาสฺสรสฺโส, สสฺสทฺวิตฺตํ.อาศรม (ที่อยู่ของฤาษี ที่อยู่ของนักพรต) วิ. มุนีนํอิสีนํวสนฏฺฐานํอสฺสโมนาม. บุคคลผู้ประพฤติพรหมจรรย์พรหมจารีบุคคล.ส.อาศฺรม.
อสฺสมปท : (นปุ.) สถานที่เป็นที่ไปของบุคคลผู้ระงับความโกรธ, ฯลฯ, อาศรมบท.
อสฺสวณตา : อิต. ความไม่เชื่อฟัง
อสฺสาชาเนยฺย : (ปุ.) ม้าผู้อาจในอันรู้ซึ่งเหตุพลันม้าผู้อาจในความรู้ซึ่งเหตุและสิ่งมิใช่เหตุโดยยิ่ง, ม้าอาชาไนย.
อสฺสาท : (ปุ.) ความยินดี, ความสำราญ, ความเพลิน, ความเพลิดเพลินความชอบใจ.
อสฺสาทน : (นปุ.) ความยินดี, ความสำราญ, ความเพลิน, ความเพลิดเพลินความชอบใจ.
อสฺสาลี : ค. กลับฟื้น, สดชื่น, มีความสุข
อสฺสาสก : ค. อันนำมาซึ่งความสบายใจ
อสฺสิต : ค. อาศัยอยู่, เนื่องอยู่, ได้รับความอุดหนุน
อสฺสิรี : ค. ไม่มีสิริ, ไม่มีศรี, ไม่มีความรุ่งเรือง
อสาขลฺย : นป. ความไม่มีเพื่อน, ความไม่เป็นเพื่อน
อสาเฐยฺย : นป. ความไม่มีมายาสาไถย, ความไม่มีเล่ห์เหลี่ยม, ความไม่โอ้อวด, ความไม่โกง
อสาต : ๑. นป. ความทุกข์, ความเจ็บปวด ;
๒. ค. ไม่เป็นที่พอใจ, ไม่สบอารมณ์
อสาธุ : (ปุ.) ความไม่ดี, คนไม่ดี.ส.อสาธุ.
อสามญฺญ : ค. ไม่มีส่วนแห่งสามัญญผล, ไม่มีส่วนแห่งความเป็นสมณะ
อสาราค : ป. ไม่มีราคะ, ไม่มีความกำหนัดยินดี
อสิโลกภย : (นปุ.) ภัยแห่งความติเตียน.
อสุจีก : นป. ความไม่บริสุทธิ์สะอาด, กิเลสเครื่องเศร้าหมอง
อสุทฺธิ : (อิต.) ความไม่สะอาด, ความไม่หมดจดความไม่ผ่องแพ้ว, ความไม่ผุดผ่อง, ความสกปรก.
อสุภกถา : อิต. กถาอันว่าด้วยความไม่สะอาด, ถ้อยคำพรรณนาถึงสิ่งที่น่าเกลียด
อสุภสญฺญา : (อิต.) ความสำคัญว่าไม่งาม, ฯลฯ.วิ. อสุภาอิติสญฺญาอสุภญฺญา.
อสุร : (ปุ.) สัตว์ผู้ไม่รุ่งโรจน์ในความเป็นอยู่, อมนุษย์, มาร, ปีศาจ, อสูร (อมนุษย์พวกหนึ่งซึ่งเป็นข้าศึกแก่เทวดา).
อสุโรป : ป. ความไม่สุภาพ, ความกระด้าง, ความโกรธเคือง
อโสก : (วิ.) ผู้ไม่มีความโศก, ผู้ไม่โศก.ส.อโศก
อโสตต : นป. ความเป็นผู้ไม่มีหู
อหการอหงฺการ : (ปุ.) ความถือตัว, ความทะนงตัว, ความไว้ตัว, ความไว้ยศ, ความหยิ่ง, ความเย่อหยิ่ง, ความจองหอง, ความถือเรา, อติมานะ, อภิมานะ. วิ. อหมิติอตฺตานํกโรติ เยน โสอหํกาโรอหงฺกาโรวา.อหํปุพฺโพ, กรฺกรเณ, โณ.อภิฯลงอปัจส.อหงฺการ.
อหมหมิกา : (อิต.) ความหยิ่ง, ความจองหอง, ความอหังการ.โบราณแปลว่าอภิมานะเป็นที่กระทำว่าเราว่าเรา.อหํอหํศัพท์อิกปัจ.วิ. อหํอคฺโคภวามิอหํอคฺโคภวามี-ติอหมหมิกา.
อหาส : ป. ความไม่ร่าเริง, ความไม่ยินดี
อหิริก : (ปุ.) คนหมดความละอาย, คนหมดความละออายใจ, คนหมดความขยะแขยงในการทำทุจริตต่าง ๆ, สภาพที่ไม่ละอายแก่อกุศลทุจริต.
อหึสา : (อิต.) ความไม่เบียดเบียน, อหิสา.ส. อหึสาอหิงฺสา.
อเหตุกทิฏฺฐิ : (อิต.) ความเห็นว่าไม่มีเหตุ, ความเห็นว่าหาเหตุมิได้.ความเห็นว่าหาเหตุมิได้.ความเห็นว่าคนเราจะได้ดีหรือว่าได้ร้าย เป็นไปตามเคราะห์ดีหรือเคราะห์ร้ายถึงคราวเคาะห์ดีก็ดีได้เองถึงคราวเคราะห์ร้ายก็ร้ายได้เองจัดเป็นอเหตตุกทิฏฐิ.
อา : (อัพ. อุปสรรค)ต้อง, ทั่ว, ถึง, พอถึง, จดถึงอุ. อา ปพฺพตา เขตฺตํ.ยิ่ง, ใกล้, มาใกล้, จนถึง, โดยยิ่ง, โดยรอบ, ก่อน, ออก, บน, ปรารถนา, ผูก, จาก, อยู่, เรียก, ถือ, ยาก, น้อย, กลับ, ไม่เลื่อมใส, รบ, ที่อาศัย, รวบรวม, ประมวลมา, เสมอ ๆ, อัศจรรย์, กลับความคือเมื่อนำธาตุแล้วจะกลับความเดิมของธาตุ.
อากขาอากงฺขา : (อิต.) ความจำนง, ความปรารถนา, ความหวัง, อากังขาชื่อของตัณหา, ตัณหา. อาปุพฺโพ, กํขฺอิจฺฉายํ, อ.ส.อากางฺกฺษา.
อากงฺขน : นป. ความหวัง, ความจำนง, ความปรารถนา
อากปฺป : (ปุ.) มรรยาทอัน...กำหนดยิ่ง, มรรยาทเครื่องกำหนดยิ่ง, มรรยาทเครื่องสำเร็จ, ความกำหนด, ความสำเร็จ.อาบทหน้ากปฺปฺธาตุในความกำหนดสำเร็จอ.ปัจ. การตกแต่งให้งาม, การตกแต่งให้สวยงาม, การแต่งตัวดี, อาการ, ท่าทาง. กปุธาตุในความอาจสามารถควรสมควรอหรือณปัจซ้อนปฺ.ส.อากลฺป.
อากลฺย, อากสฺส : นป. ความไข้, ความเจ็บป่วย, อาพาธ
อาการ : (ปุ.) การทำยิ่ง, ความทำโดยยิ่ง, มรรยาทเครื่องทำโดยยิ่ง, ความเป็นอยู่, การณะ, สัณฐาน, ส่วน, ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย, วิธี, ทำนอง, ท่าทาง.วิ.อากรณํอากาโร.ส.อาการ.
อากิญฺจญฺญ : นป. ความไม่มี, ความว่างเปล่า
อากิญฺจญฺญายตน : นป. อากิญจัญญายตนะ, ฌานที่มีการคำนึงว่าไม่มีอะไรเป็นอารมณ์, สภาวะแห่งความไม่มีอะไร
อากิรณ : นป. ความอาเกียรณ์, ความเรี่ยราด, ความกระจัดกระจาย
อากิริตตฺต : นป. ความเต็ม, ความบริบูรณ์
อากีรณ : (นปุ.) ความเกลื่อนกล่น, ความดาษดาความคลุกคลี, ความระคน, ความเรี่ยราย, อาเกียรณ์.อาปุพฺโพ, กิรฺวิกิรเณ, ยุ.ส. อากีรฺณ.
อากูต : นป. ความปรารถนา