Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความรอบรู้, รอบรู้, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความรอบรู้, 3694 found, display 401-450
  1. คลปฺปเวธก : นป. ความเจ็บคอ, ความปวดคอ
  2. คเวฏฺฐิ คเวสนา : (อิต.) การแสวงหา, การค้นหา, การเสาะหา, ความแสวงหา, ฯลฯ. คเวสฺ มคฺคเน, ติ, ยุ.
  3. คเวสนา : (นปุ.) การแสวงหา, การค้นหา, การเสาะหา, ความแสวงหา, ฯลฯ. คเวสฺ มคฺคเน, ติ, ยุ.
  4. คหฏฺฐ : (ปุ.) คนผู้ดำรงอยู่ในเรือน, คนครอง เรือน, คหัฐ คฤหัสถ์ (คนครองเรือน ไม่ ใช่นักบวช). วิ. เคเห ติฏฺฐตีติ คหฏฺโฐ คนผู้ดำรงอยู่ในป่าคือกิเลส, คนผู้ดำรงอยู่ ในเรือนด้วยสามารถแห่งความกำหนัด ในกามคุณห้า วิ. เคเห ปญฺจกามคุเณ ราควเสน ติฏฺฐตีติ คหฏฺโฐ. คหปุพฺโพ ฐา คตินิวุตฺติยํ, กฺวิ.
  5. คหิตภาว : ป. ความที่แห่ง...อันเขาถือเอาแล้ว, ความยึดเอา
  6. คาถาวณฺณนา : (อิต.) กถาเป็นเครื่องพรรณนา ซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, กถาเครื่องพรรณนา ซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, วาจาเป็นเครื่อง พรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, การพรรณ- นาซึ่งเนื้อความแห่งคาถา. วิ. คาถตฺถสฺส วณฺณนา วา คาถา วณฺณนา. คาถาย อตฺถสฺส
  7. คาธ : (ปุ.) ความเป็นที่พึ่ง, ความเป็นที่อาศัย, การนับเข้า, การรวมเข้า, การหยั่งลง, ความหยั่งลง, การแต่งตั้ง, การร้อยกรอง, ฝั่งน้ำ. คาธุ ปติฏฺฐนิสฺสยคนฺเถสุ, อ.
  8. คาน : (ปุ.) การไป, การถึง, การเป็นไป, ความเป็นไป. คา คติยํ, ยุ.
  9. คามธมฺม : (ปุ. นปุ.) เรื่องของชาวบ้าน, กิจของ ชาวบ้าน, ความประพฤติของคนผู้มีปกติ อยู่ในบ้าน, ความประพฤติของชาวบ้าน, ความประพฤติของคนผู้มีปกติอยู่ในบ้าน, เมถุน (การร่วมสังวาส). วิ. คามวาสีนํ ธมฺโม อาจาโร คามธมฺโม.
  10. คารว : (ปุ.) การยกไว้เป็นของสูง, การยกไว้ในเบื้องสูง, การนับถือ, การนบนอบ, การเคารพ, ความนับถือ, ฯลฯ. วิ. ครุโนภาโว คารโว (ความเป็นแห่งผู้หนัก). ณ ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว. ทีฆะ อ ที่ ค เป็น อา, รูปฯ ๓๗๒ ว่า แปลง อุ เป็น อว. ส. เคารว.
  11. คิทฺธิ : อิต. ความจะกละ, ความมักมาก
  12. คิมฺหิก : ค. มีความร้อน, อันมีในฤดูร้อน, เนื่องด้วยความร้อน
  13. คิลาน : (วิ.) สิ้นความสำราญ, เจ็บไข้, เป็นไข้, ไม่สบาย.
  14. คิลาน, คิลานก : ค. ผู้เจ็บป่วย, ผู้เป็นไข้; (สิ่งของ) ที่เหมาะกับความป่วยไข้, ที่เหมาะกับโรค
  15. คุณกถา : อิต. การกล่าวถึงคุณ, การกล่าวยกย่อง, การสรรเสริญ, การพรรณนาคุณความดี
  16. คุณกิตฺตน : นป. การพรรณนาคุณความดี
  17. คุณคฺคตา : อิต. ความเป็นผู้มีคุณความดี
  18. คุณฑฺฒ : ค. ผู้มีคุณความดีมาก
  19. คุณธมฺม : (ปุ.) สภาพผู้ทรงไว้ซึ่งความดี, ธรรมคือความดี, ธรรมเป็นความดีเท่านั้น, ธรรมอันเป็นความดี.
  20. คุณธาร : (วิ.) ผู้ทรงไว้ซึ่งความดี, ผู้ทรงคุณ.
  21. คุณนาม : (ปุ.) ชื่ออันแสดงความดี, คุณนาม คือนามที่แสดงลักษณะของนามนามให้ รู้ว่าดีหรือชั่วเป็นต้น.
  22. คุณภาว : (ปุ.) ความดี, ชั้นของความดี, ลักษณะของความดี, คุณภาพ.
  23. คุณวตี คุณวนฺตี : (วิ.) (หญิง.) ผู้มีความดี. ศัพท์แรกแปลง นฺตุ เป็น ต อีอิต.
  24. คุณวนฺตุ : ค. ผู้มีคุณความดี
  25. คุณวุฑฺฒ : (วิ.) ผู้เจริญแล้วด้วยความดี, ผู้ เจริญแล้วโดยความดี, ผู้เจริญด้วยคุณ, ผู้ เจริญโดยคุณ.
  26. คุณวุฑฺฒิ : (อิต.) ความเจริญด้วยความดี, ฯลฯ, คุณวุฒิ (ความสามารถที่เหมาะสมแก่ ตำแหน่งหน้าที่)
  27. คุณสมฺปตฺติ : (อิต.) สมบัติคือความดี, คุณสมบัติ (ความดีเต็มที่).
  28. คุณหีน : ค. ผู้เสื่อมจากคุณความดี
  29. คุณากร : (ปุ.) บ่อเกิดแห่งความดี.
  30. คุณาธิก : (วิ.) ผู้ยิ่งด้วยความดี, ผู้ยิ่งด้วยคุณ.
  31. คุณานุรูป : (วิ.) สมควรแก่สวน, สมควรแก่ ความดี.
  32. คุณูเปต : ค. ผู้เข้าถึงคุณความดี
  33. คุเณตร คุเณตฺตร : (ปุ.) การข้ามคุณ ความผิด.
  34. คุตฺตทฺวารตา : อิต. ความเป็นผู้มีทวารอันคุ้มครองแล้ว, การบังคับตนได้
  35. คุตฺติ : (อิต.) การคุ้มครอง, การปกครอง, การเลี้ยงดู, การรักษา, ความคุ้มครอง, ฯลฯ. วิ. โคปยเตติ คุตฺติ. คุปฺ โคปเน, ติ. แปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ปฺ หรือไม่แปลง ติ แปลง มฺ เป็น ตฺ ก็ได้.
  36. คุยฺหก : (ปุ.) ความลับ, คุยหกะ ชื่อกำเนิด เทวดาอย่างที่๔ ใน ๘ อย่าง วิ. นิธโย คุยฺหตีติ คุยฺหโก. คุหุ สํวรเณ, ณฺวุ. แปลง อุ ที่ หุ เป็น ย แล้วเปลี่ยนอักษร.
  37. คุยฺหปุริส : ป. สปาย, ผู้สืบความลับ, สายลับ, สายสืบ
  38. คุยฺหมตฺถ : (ปุ.) เนื้อความลับ, ความลับ, เรื่องลับ. คุยฺห+อตฺถ มฺ อาคม.
  39. คุหน : นป., คุหนา อิต. การซ่อน, การปกปิด, การรักษา; ความลับ
  40. เคธิ : อิต. ความโลภ, ความปรารถนา, ความริษยา
  41. เคธิกตา : (อิต.) ความกำหนัด, ฯลฯ.
  42. เคธิต : นป. ความโลภ, ความปรารถนา
  43. เคลญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งความเจ็บ, ความเป็นแห่งความเจ็บไข้, ฯลฯ, ความเป็นแห่งคนเจ็บ, ฯลฯ. วิ. คิลานสฺส ภาโว เคลญฺญ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ความเจ็บ, ฯลฯ, ความไม่สบาย, โรค. ณฺย ปัจ. สกัด.
  44. โคตฺรภูญาณ : นป. ความรู้ที่กำลังพ้นเขตของปุถุชนและกำลังย่างขึ้นสู่เขตพระอริยเจ้า
  45. โคปน : (นปุ.) การคุ้มครอง, การรักษา, ความคุ้มครอง, ความรักษา. คุปฺ โคปนรกฺขเณสุ, โณ, ยุ.
  46. โครณ : นป. ความพยายาม, การฝึกฝน
  47. ฆฏนา : (อิต.) ความหมั่น, ความขยัน. มฏฺวายามกรเณ. การรวมกัน, การติดต่อกัน, การเชื่อม. ฆฏฺ สงฺฆาเต. การตี, การเบียดเบียน, การฆ่า, การประหาร ฆฏฺ หนเน, ยุ ปัจ.
  48. ฆนกรกวสฺส : (นปุ.) ฝนอันบุคคลพึงถือเอา ด้วยมือโดยความเป็นก้อน, ฝนอันทำซึ่ง ความเป็นแท่ง, ฝนลูกเห็บ.
  49. ฆนตม : ๑. ป. ความมืดทึบ; ๒. ค. มืดทึบ, มืดมาก
  50. ฆนสญฺญา : (อิต.) ความสำคัญว่าเป็นก้อน, ความเห็นว่าเป็นตัวเป็นตน.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | [401-450] | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3694

(0.1544 sec)