Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความสบายใจ, สบายใจ, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความสบายใจ, 3696 found, display 1051-1100
  1. ทุลฺลทฺธิ : อิต. ลัทธิที่ผิด, ความเห็นผิด
  2. ทุสน โทสน : (นปุ.) อันประทุษร้าย, การประ- ทุษร้าย, ความประทุษร้าย. ทุสฺ โทสเน, ยุ. ศัพท์ตันทีฆะ ศัพท์หลัง พฤทธิ์ อุ เป็น โอ.
  3. ทุสฺสนา : (อิต.) กิริยาที่น่าชัง, กิริยาอันน่าชัง, ความไม่พอใจ, ความประทุษร้าย. ทุสฺ โทสนอปฺปิติเยสุ. ยุ. ซ้อน สฺ อา อิต.
  4. ทุสฺสนีย : ค. ซึ่งเป็นที่ตั้งแห่งความขัดเคือง, ซึ่งน่าโกรธเคือง
  5. ทุสฺสิตตฺต : นป. ความที่จิตถูกโทษประทุษร้าย, ความโกรธเคือง
  6. ทุสฺสีลฺย ทุสฺสีลย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคล ผู้มีศีลอันโทษประทุษร้ายแล้ว, ฯลฯ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ศัพท์หลังไม่ลบ อ ที่สุดศัพท์ หรือลง ย ปัจ.?
  7. ทุหณ : (ปุ.) ความเต็ม,ความให้เต็ม,การรีด,การรีดนม.ทุหฺปปูรเณ,ยุ,โณ.ส.โทห.
  8. ทุหณ ทุหน : (นปุ.) ความเต็ม, ความยินดี. ทุหฺ ปปูรเณ, ยุ.
  9. ทูเตยฺย : นป. ความเป็นทูต, การส่งข่าวสาร, การสื่อสาร
  10. ทูรกนฺตน : นป. การกำจัดให้ไปในที่ไกล, การถูกขับไล่ให้ได้รับความอดสู, การทรยศต่อประเทศชาติ
  11. ทูรวิหารวุตฺตี : ค. (คฤหัสถ์กับภิกษุ) มีความเป็นอยู่และความประพฤติไกลกัน, สภาพความเป็นอยู่ต่างกันมาก
  12. เทยฺยธมฺม : (ปุ.) ของอัน...พึงให้, สักการะมี ความเป็นของอันบุคคลพึงให้, ของควรให้, ไทยะรรมของสำหรับทำบุญของถวายพระ (เครื่องสักการะ).
  13. เทฺวชฺฌ : ค., นป. ซึ่งแบ่งออกเป็นสองส่วน; มีความสงสัย, ไม่แน่ใจ; ความสงสัย, ความไม่แน่ใจ
  14. เทวตฺต : นป. ความเป็นเทวดา
  15. เทวตาภาว : ป. ความเป็นเทวดา
  16. เทวตาอุโปสถ : ป. เทวดาอุโบสถ, การรักษาอุโบสถโดยยกเอาเทวดาเป็นพยานในคุณความดีของตน
  17. เทวธาปถ : (ปุ.) ความสงสัย.
  18. เทฺวภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่ง...สอง. เทวภาวะ คือการทำอักขระให้เป็นสอง, วิ. ทฺวินฺนํ ภาโว ทฺวิภาโว. โส เอว เทฺวภาโว. รูปฯ ๔๐.
  19. เทวร : (ปุ.) พี่น้องชายของผัว, แปลว่า พี่ผัวหรือน้องผัวก็ได้แล้วแต่เนื้อความของที่นั้น ถ้าเป็น พหุ. แปลว่าพี่ผัวและน้องผัว. วิเทวนฺติ เอเตนาติ เทวโร. ทิวุ กีฬายํ. อโร. แปลง อิ เป็น เอ. ฎีกาอภิฯ สามิภาตา กนิฎโฐ สามิโน ภาตา เทวโร นาม.
  20. เทฺวฬฺหก : (นปุ.) ความสงสัย วิ. เทฺวธา อิลติ จิตฺต เมเตนาติ เทฺวฬฺหกํ. ทฺวิปุพฺโพ. อิลฺ คติกมฺปเนสุ. โห, ลสฺส ฬคฺคํ. สกคฺเถ โก.
  21. เทฺวฬฺหกจิตฺต : ค. ผู้มีจิตประกอบด้วยความสงสัย, ผู้มีใจลังเล, ผู้ไม่แน่ใจ
  22. เทฺวฬฺหกชาต : ค. ผู้เกิดความสงสัย, ผู้มีความสงสัย
  23. เทสนาวิธีกุสลตา : (อิต.) ความที่แห่ง...นั้น เป็นผู้ฉลาดในวิธีแห่งการแสดง, ความที่ แห่งพระพุทธเจ้าทรงเป็นผู้ฉลาดในวิธี แห่งเทศนา.
  24. เทสนาวิลาส : ป. ความไพเราะแห่งเทศนา, ทำนองเทศน์อันไพเราะ, ลีลาการแสดงธรรมอันจับใจ
  25. เทสฺสตา : อิต. ความเป็นสิ่งน่ารังเกียจ, ความน่าเกลียดน่าชัง, ความน่าขยะแขยง
  26. โทภคฺค : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนโชคร้าย (คนมีความดีเสีย คนเสียความดี). วิ. ทุภคสฺส ภาโว โทภคฺคํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รูปฯ ๓๗๑
  27. โทมนสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนผู้มีใจอันโทษประทุษร้ายแล้ว, ความเป็นผู้มีใจอันโทษประทุษร้ายแล้ว, ความเป็นผู้มีใจชั่ว. วิ. ทุมนสฺส ภาโว โทมนสฺสํ. ทุมน+ณฺย ปัจ. สฺ อาคม รวมเป็น ทุมนสฺ+ณฺย พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ ณุ แปลง สฺย เป็น สฺส หรือ แปลง ย เป็น ส ก็ได้ รูปฯ ๓๗๑ หรือไม่ลง สฺ อาคม แปลง ย เป็น ส ซ้อน สฺ ก็ได้.
  28. โทมนสฺสปตฺต : ค. ผู้ถึงแล้วซึ่งโทมนัส, ผู้ประสพความทุกข์ใจ, ผู้เป็นทุกข์ใจ
  29. โทมนสฺสุปวิจาร : ป. การไตร่ตรองถึงอารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งโทมนัส, การใคร่ครวญถึงอารมณ์ที่ก่อให้เกิดความทุกข์ใจ
  30. โทวจสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลว่าได้โดยยาก, ฯลฯ. ทุวจ+ณฺยปัจ. ดู โทมนสฺสประกอบ. รูปฯ๓๗๑
  31. โทวจสฺสตา : อิต. ภาวะแห่งความเป็นคนดื้อรั้น
  32. โทส : (วิ.) หมดความแช่มชื่น, ไม่แช่มชื่น, ไม่ชอบ, ไม่ชอบใจ, ไม่พอใจ, ชัง, โกรธ, โกรธขึ้ง, ขึ้งเคียด, เคือง, ฉุนเฉียว, ประทุษร้าย, เป็นเครื่องประทุษร้าย. ทุสฺ อปฺปีติโทสเนสุ, โณ.
  33. โทสกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งโทสะ
  34. โทสโทส : ค. มีโทสะเป็นโทษ, มีความขัดเคืองเป็นเหตุให้เสียหาย
  35. โทสนิย, - นีย, - เนยฺย : ค. ซึ่งเป็นที่ตั้งแห่งโทสะ, ซึ่งก่อให้เกิดความขัดเคือง
  36. โทสาคติ : (อิต.) ความลำเอียงเพราะความไม่ แช่มชื่น, ความลำเอียงเพราะความไม่ชอบ, ความลำเอียงเพราะไม่ชอบกัน, โทสาคติ. อคติ ๔ ข้อที่ ๒.
  37. โทหฬ : (ปุ.) ฉันทะนี้แห่งบุคคลผู้มีหทัยสอง, ฉันทะอันเป็นการทำแห่งบุคคลผู้มีหทัย สอง, ความปรารถนาของหญิงตั้งครรภ์, การอยาก, การแพ้ท้อง, ความอยาก, ความปรารถนา, ตัณหา. โทหปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, ลสฺส ฬตฺตํ ทฺวิปุพฺโพ วา, หลฺ กมฺปเน, อ, ทฺวิสฺสโท, ลสฺส โฬ. ทุฏฐ หทย เมเตนาติ วา โทหโฬ. ทุฏฐสฺส โท, ทหยสฺสหโฬ เทฺว หทยา อสฺส ปรมตฺถสฺสาติ วา โทหโฬ. ทวิสฺส โท, หทยสฺส หโฬ. หรือแปลง ทฺวิ เป็น โท แปลง ท เป็น ฬ ลบ ย. ทุธา หทยํ เอตีติ โทหโฬ. ฎีกาอภิฯ วิ. โทหํ ลาตีติ โทหโฬ. ส. โทหล.
  38. ธญฺชน : (นปุ.) การไป, ความไป, ธชฺ คติยํ, ยุ, นิคฺคหิคาคโม.
  39. ธนกฺขย : นป. ความสิ้นไปแห่งทรัพย์สมบัติ
  40. ธนตฺต : นป. ความเป็นผู้อยากได้ทรัพย์
  41. ธนาสา : อิต. ความหวังในทรัพย์, ความปรารถนาทรัพย์
  42. ธมฺมกาม : (ปุ.) ความยินดีซึ่งธรรม, ความใคร่ซึ่งธรรม, ความปรารถนาซึ่งธรรม. ทุ. ตัป. ความยินดีในธรรม, ฯลฯ. ส. ตัป. บุคคลผู้ยินดีซึ่งธรรม, บุคคลผู้ยินดีใน ธรรม, ฯลฯ, บุคคลผู้นิยมซึ่งธรรม, บุคคลผู้นิยมในธรรม. วิ. ธมฺมํ ธมฺเม วา กามยตีติ ธมฺมกาโม. ธมฺมปุพฺโพ, กมุ อิจฺฉากนฺตีสุ, โณ.
  43. ธมฺมคารว : (วิ.) มีความเคารพซึ่งธรรม, ฯลฯ.
  44. ธมฺมคุณ : (ปุ.) ความดีของพระธรรม, ประโยชน์ของพระธรรม, คุณของพระธรรม, พระธรรมคุณ ชื่อบาลีสำหรับสวดสรรเสริญพระธรรมว่า สฺวากฺขาโต ฯลฯ วิญฺญูหีติ.
  45. ธมฺมจริยา : (อิต.) ความประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมสฺส จริยา ธมฺมจริยา. ทุ.ตัป. การประพฤติเป็นธรร,ความประพฤติเป็นธรรม. วิ. ธมฺโม จริยา ธมฺมจริยา. วิเสสนบุพ. กัม. เจตนาเป็นเครื่องประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรติ เอตายาติ ธมฺมจริยา. ญฺย ปัจ. ไม่ทีฆะ อิ อาคม รูปฯ ๖๔๔. การประพฤติธรรมคือการประพฤติปฏิบัติตามกุศลกรรมบท ๑๐.
  46. ธมฺมจารี : (วิ.) ผู้ประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรตีติ ธมฺมจารี. ผู้ประพฤติซึ่งธรรมโดยปกติ. วิ. ธมฺมํ จรติ สีเลนาติ ธมฺมจารี. ผู้มีความประพฤติซึ่งธรรมเป็นปกติ วิ. ธมฺมํ จริดฺ สีล มสฺสาติ ธมฺมจารี. ผู้มีปกติ ประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมสฺส จรณสีโลติ ธมฺมจารี. ธมฺมปุพฺโพ, จรฺ จรเณ, ณี.
  47. ธมฺมฏฺฐิติ : อิต. การตั้งอยู่แห่งธรรม, สภาพความเป็นจริงแห่งพระธรรม
  48. ธมฺมฐตตา : (อิต.) ความตั้งอยู่แห่งธรรม, ความตั้งอยู่แห่งปัจจัย. ตาปัจ. สกัด.
  49. ธมฺมฐติ : (อิต.) ความตั้งอยู่แห่งธรรม, ความตั้งอยู่แห่งปัจจัย, ธรรมฐติ ชื่อของปัญญาในการกำหนดปัจจัย. ไตร. ๓๑/๗๒.
  50. ธมฺมตฺถเทสนา : อิต. การแสดงธรรมหรือความหมายแห่งข้อธรรม
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | [1051-1100] | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3696

(0.0686 sec)