Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความสบายใจ, สบายใจ, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความสบายใจ, 3696 found, display 1101-1150
  1. ธมฺมตา : (อิต.) ความเป็นแห่งธรรม, ความเป็นแห่งปัจจัย, ความเป็นเอง, จารีต, ธรรมเนียม, ประเพณี, สิ่งอันเป็นเอง, ธรรมดา คืออาการหรือความเป็นไปแห่งธรรมชาติ หรือการเสื่อมสลาย คือเสื่อม สลาย. ธมฺม+ตา ปัจ. สกัด. ส. ธรฺมตา.
  2. ธมฺมทสฺสน : (นปุ.) การเห็นซึ่งธรรม, ความเห็นซึ่งธรรม, ความเห็นธรรม, ธรรมทัศน์(ความเห็นธรรมอย่างแจ่มแจ้ง).
  3. ธมฺมทาน : (นปุ.) การให้ซึ่งธรรม, การให้ซึ่งความรู้, การให้ธรรม, การให้ความรู้.
  4. ธมฺมทินฺน : (วิ.) ผู้ให้ซึ่งธรรม, ผู้ให้ซึ่งความรู้, ผู้ให้ธรรม, ผู้ให้ความรู้. วิ. ธมฺมํ ททาตีติ ธมฺมทินโน. ธมฺม+ทา+ตปัจ. แปลง ต เป็น อินฺน รูปฯ ๕๙๓.
  5. ธมฺมนิยาม : (ปุ.) ทำนองแห่งธรรม, ความแน่นอนแห่งธรรม, ธรรมดา, ธรรมนิยาม คือพระไตรลักษณ์.
  6. ธมฺมนิยามตา : (ปุ.) ทำนองแห่งธรรม, ความแน่นอนแห่งธรรม, พระไตรลักษณ์. ตา ปัจ สกัด.
  7. ธมฺมปชฺโชต : ป. ความโชติช่วงแห่งธรรม, ความรุ่งเรืองแห่งธรรม
  8. ธมฺมปฏิสมฺภิณาฌ : (นปุ.) ความรู้ (ปัญญา) อันแตกฉานในเหตุที่ทำให้เกิด ผล
  9. ธมฺมปทฎฺฐกถา : (อิต.) อรรถกถาเป็นเครื่องพรรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งบทแห่งธรรม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งเนื้อความแห่งบทแห่งธรรม, อรรถกถาแห่งธรรมบท.
  10. ธมฺมปริยาย : (ปุ.) กระบวนของธรรม, ลำดับ ของธรรม, การเล่าเรียนธรรม, การสอนธรรม, นัยเป็นเครื่องยังคำสอนให้เป็นไปรอบ, การอธิบายตามความหมายของธรรม.
  11. ธมฺมภูติ : (อิต.) ความเป็นเพียงดังเหตุ, ความรุ่งเรืองด้วยธรรม, ฯลฯ.
  12. ธมฺมมาธมฺม : (ปุ.) ธรรมและสภาวะมิใช่ธรรม, ความควรและความไม่ควร, ความถูกและความผิด, ยุติธรรมและอยุติธรรม.
  13. ธมฺมยุตฺต : (ปุ.) ธรรมยุต พระธรรมยุต (ผู้ประกอบด้วยความถูกต้อง) ชื่อพระสงฆ์ ฝ่ายเถรวาทนิกายหนึ่ง.
  14. ธมฺมรติ : (อิต.) ความยินดีในธรรม.
  15. ธมฺมรส : (ปุ.) รสแห่งธรรม, รสของธรรม, รส อันเกิดแล้วจากธรรม, ธรรมรส (ความชื่นชมยินดี ความอิ่มใจ ความพอใจ อัน เกิดจากการปฏิบัติตามธรรม).
  16. ธมฺมรุจิ : (อิต.) ความพอใจในธรรม, ความชอบใจนะรรม, ความยินดีในธรรม.
  17. ธมฺมวิตกฺก : ป. ธรรมวิตก, ความตรึกในธรรม, ความตรึกถึงธรรม
  18. ธมฺมสญฺญา : (อิต.) ความรู้ว่าธรรม วิ. ธมฺมํ อิติ สญฺญา ธมฺมสญฺญา.
  19. ธมฺมสเวค ธมฺมสเวช : (ปุ.) ความสลดใน ธรรม, ความสลดใจในธรรม, ความสลดโดยธรรม, ความสังเวชโดยธรรม, ธรรมสังเวช เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์ เมื่อ ท่านประสบอนิฏฐารมณ์ ท่านไม่หวั่นไหวไปตามอนิฏฐารมณ์นั้นๆ.
  20. ธมฺมสามิสฺสร ธมฺมสฺสามิสฺสร : (วิ.) ผู้เป็น ใหญ่ด้วยความเป็นเจ้าของแห่งธรรม.
  21. ธมฺมสุธมฺมตา : อิต. ความวิเศษหรือความดีเด่นแห่งธรรม
  22. ธมฺมโสณฺฑตา : อิต. ความเป็นผู้ต้องการความเป็นธรรม
  23. ธมฺมาธิปเตยฺย : (วิ.) มีความเป็นใหญ่ยิ่งโดย ธรรม, มีความถูกต้องเป็นใหญ่ยิ่ง.
  24. ธมฺมานุธมฺมาปฏิปตฺติ : (อิต.) การปฏิบัติซึ่ง ธรรมอันสมควรแก่ธรรม, การปฏิบัติ ธรรมสมควรแก่ธรรม, ธัมมานุธัมมปฏิบัติ คือการประพฤติความดีตามสมควรแก่ ฐานะและภาวะของตน.
  25. ธมฺมานุลฺสติ : (อิต.) ธรรมชาติเป็นเครื่อง ระลึกตามซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ความระลึกตามซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ความระลึกเนืองๆ ซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ธมฺมคุณ+อนุสฺสติ.
  26. ธมฺมานุสาร : (ปุ.) ความระลึกตามซึ่งพระธรรม. ธมฺม+อนุสาร. ความระลึกซึ่งคุณแห่ง พระธรรม ธมฺมคุณ+อนุสาร.
  27. ธมฺมาภิมุข : (วิ.) มีหน้าเฉพาะธรรม, ผู้มุ่ง แต่ความถูกต้อง, ผู้มุ่งแต่ยุติธรรม. ส. ธรฺมาภิมุข.
  28. ธมฺมาภิสมย : (ปุ.) ความถึงพร้อมเฉพาะซึ่งธรรม, ความตรัสรู้ซึ่งธรรม, ธรรมาภิสมัย (การสำเร็จมรรคผล).
  29. ธมฺมำธิปเตยฺย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่ยิ่งโดย ธรรม, ธรรมาธิปไตย (ถือความถูกต้อง เป็นใหญ่).
  30. ธวลตา : อิต. ความเป็นของขาวสะอาด
  31. ธาตุโขภ : ป. ความกำเริบแห่งธาตุ
  32. ธาตุนานตฺต : นป. ความเป็นต่างๆ กันแห่งธรรมชาติหรือธาตุ
  33. ธาตุสณฺณา : (อิต.) ความสำคัญว่าธาตุ, ความรู้ว่าธาตุ, ความหมายรู้ว่าธาตุ, ความกำหนดว่าธาตุ.
  34. ธานิย : ๑. นป. ความร่ำรวย, ทรัพย์สมบัติ; ๒. ค. ร่ำรวย, มีทรัพย์สมบัติ
  35. ธาม : (นปุ.) ความเกิด. ชนฺ+ม ปัจ. แปลง ชนฺ เป็น ชา แปลง ชา เป็น ธา.
  36. ธารก : (ปุ.) การทรง, ฯลฯ, ความทรง, ฯลฯ, ความทนทานได้, เชิง (ตีนซึ่งเป็นฐานที่ ตั้งของ). ธาร+ก สกัด.
  37. ธารณตา : (อิต.) ความเป็นแห่งความทรง, ฯลฯ.
  38. ธารา : (อิต.) การทรง, การรับไว้, การหนุน, ความทรง, ฯลฯ, ความสืบต่อ, คม, คม ดาบ, สายฝน (ที่ตกหนัก), สายน้ำ, กระแสน้ำ, ลำธาร, ห้วย, หยาดน้ำ, ท่อ, ท่อน้ำ, ลำราง. วิ.เวคํ ธาเรตีตฺธารา. เป็น ปุ. บ้าง. ส. ธารา.
  39. ธาวน : (นปุ.) การวิ่งไป, การแล่นไป, ความเจริญ, ธาวุ คติวุฑฺฒีสุ, ยุ.
  40. ธิติ : (อิต.) ความทรงไว้, ปัญญาเป็นเครื่อง ทรง, ปัญญา, ธา ธารเณ, ติ. แปลง อา เป็น อิ.
  41. ธิติมนฺตุ : (วิ.) มีปัญญาเป็นเครื่องทรง, มี ความเพียรเป็นที่ตั้ง, มีความเพียร, ฯลฯ. วิ. ธิติ อสฺส อตฺถีติ ธิติมา. มนฺตุ ปัจ.
  42. ธีตุสิเนห : (ปุ.) ความสิเนหาในธิดา (รักลูก สาว), ความสิเนหาดุจธิดาของตน (รักหลานสาว).
  43. ธุตตฺต : นป. ความเป็นผู้มีกิเลสอันกำจัดแล้ว, ความเป็นผู้เรียบร้อย
  44. ธุรตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่ย่อท้อต่อหน้าที่หรือการงาน
  45. ธุวคามี : ค. ซึ่งนำไปสู่พระนิพพาน, ซึ่งนำไปสู่ความเที่ยงแท้
  46. ธูม : (ปุ.) ความโกรธ, ควัน, ควันไฟ, ความตรึก, กามคุณ ๕, ธรรมเทศนา. ธูปฺ กมฺปนสนฺตาเปสุ, โม. กัจฯ และรูปฯ ลง มนฺ ปัจ. ลบ นฺ. ส. ธูม.
  47. โธรยฺหวต : นป. การนำธุระไปเป็นวัตร, ความเป็นสัตว์ที่นำภาระไป
  48. นกฺข : (นปุ.) การไป,การดำเนินไป,ความเป็นไป.นกฺขุคติยํ,อ.ความเกี่ยวเนื่อง,ความสัมพันธ์.นกฺขฺสมฺพนฺเธ,อ.
  49. นกฺขตฺตวิชฺชา : (อิต.) ความรู้เรื่องดวงดาว, วิชาดูดาว, วิชาดูฤกษ์ยาม.
  50. นกฺขน : (ปุ.) การไป,การดำเนินไป,ความเป็นไป.นกฺขุคติยํ,อ.ความเกี่ยวเนื่อง,ความสัมพันธ์.นกฺขฺสมฺพนฺเธ,อ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | [1101-1150] | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3696

(0.0956 sec)