Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความสบายใจ, สบายใจ, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความสบายใจ, 3696 found, display 1551-1600
  1. ปริตฺตสุภ : (ปุ.) เทพชาวปริตตสุภะ, ปริตตสุภะ ชื่อพรหมโลกชั้นที่ ๗ มีความงามน้อย.
  2. ปริตฺตาณ : (นปุ.) พุทธมนต์เป็นเครื่องต้านทาน, ความต้านทาน, ความป้องกัน, ความรักษา, ความรักษาโดยรอบ, พุทธมนต์เป็นเครื่อง รักษาโดยรอบ ( ทุกด้าน ). ปริ+ ตา+ณ ปัจ. ไม่ลบ ณ หรือลง ยุ ปัจ. แปลงเป็น อน แปลง น เป็น ณ ซ้อน ตฺ.
  3. ปริตฺตายก : ค. ผู้ป้องกัน, ผู้รักษาความปลอดภัย
  4. ปริตฺตาส : (ปุ.) ความหวาด, ความสะดุ้ง, ความพรั่นพรึง. ปริปุพฺโพ, ตสฺ อุพฺเพเค, โณ.
  5. ปริตสฺสนา : (อิต.) ความอยากจัด, ความทะยานอยาก. ปริปุพฺโพ, ตสฺ ปิปาสายํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เป็น อน อาอิต. เป็น นปุ บ้าง.
  6. ปริตาป ปริตฺตาป : (ปุ.) ความร้อนใจ, ความร้อนใน, ความเร่าร้อน, ความเดือดร้อน, ความกระวนกระวาย, ความกระหาย, ปริ ปุพฺโพ, ตปฺ สนฺตาเป, โณ.
  7. ปริทฺทว ปริเทว : (ปุ.) การร้อง, การร้องไห้, ร่ำไร, การร้องไห้ร่ำไรรำพัน, การรำพัน, การพิไรรำพัน, การบ่นเพ้อ, การคร่ำครวญ ความร้องไห้, ฯลฯ, เทวษ. ปริปุพฺโพ, เทวฺ เทวเน, อ, ยุ. แปลงปริเทว เป็น ปริทฺทว. ปริเทโว เอว ปริทฺทโว.
  8. ปริทหน : (นปุ.) การไหม้, การเจ็บ, การเจ็บปวด, การกระหาย, การกระวน- กระวาย, ความร้อน, ความเร่าร้อน, ความเจ็บ,ฯลฯ. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, ยุ, โณ.
  9. ปริทาห : (ปุ.) การไหม้, การเจ็บ, การเจ็บปวด, การกระหาย, การกระวน- กระวาย, ความร้อน, ความเร่าร้อน, ความเจ็บ,ฯลฯ. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, ยุ, โณ.
  10. ปริทีปก : ค. ผู้แสดง, ผู้ชี้แจงให้, ผู้ให้ความสว่าง
  11. ปริทีปน : นป., - นา อิต. การแสดง, การชี้แจง, การอธิบาย, การให้ความสว่าง
  12. ปริทีเปติ : ก. แสดง, ชี้แจง, ให้ความสว่าง
  13. ปริเทวน : (นปุ.) การร้อง, การร้องไห้, ร่ำไร, การร้องไห้ร่ำไรรำพัน, การรำพัน, การพิไรรำพัน, การบ่นเพ้อ, การคร่ำครวญ ความร้องไห้, ฯลฯ, เทวษ. ปริปุพฺโพ, เทวฺ เทวเน, อ, ยุ. แปลงปริเทว เป็น ปริทฺทว. ปริเทโว เอว ปริทฺทโว.
  14. ปริเทวนา : (อิต.) การร้อง, การร้องไห้, ร่ำไร, การร้องไห้ร่ำไรรำพัน, การรำพัน, การพิไรรำพัน, การบ่นเพ้อ, การคร่ำครวญ ความร้องไห้, ฯลฯ, เทวษ. ปริปุพฺโพ, เทวฺ เทวเน, อ, ยุ. แปลงปริเทว เป็น ปริทฺทว. ปริเทโว เอว ปริทฺทโว.
  15. ปริเทวิต : (ปุ.) การร้องไห้, ฯลฯ, ความร้องไห้ ฯลฯ. ต ปัจ. อิอาคม.
  16. ปริเทวิตตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่ง...เป็นผู้ ร้องไห้แล้ว, ฯลฯ. ปริเทวิต+ตฺต ปัจ. แปล ปริเทวิต เป็น กิริยากิตก์. ความเป็น แห่ง...เป็นผู้ร้องไห้, ฯลฯ. แปล ปริเทวิต เป็นนาม.
  17. ปรินิฏฺฐาน : นป. ความสำเร็จ, การจบ
  18. ปรินิพฺพาน : (นปุ.) ความดับสนิท, ปรินิพพาน ศัพท์นี้ส่วนมากใช้เป็นคุณบทของ พระพุทธเจ้า.
  19. ปรินิพฺพายี : ค. ผู้ดับ, ผู้ประสพความหลุดพ้น
  20. ปริปท : (นปุ.) ข้อความรอบๆ , บทข้างเคียง คือคำหรือข้อความแวดล้อม เพื่อช่วยให้ เข้าใจความหมาย.
  21. ปริปฺลวปสาท : ค. มีความเลื่อมใสเลื่อนลอย
  22. ปริปาจน : นป. ความหุงต้ม, ความเจริญงอกงาม
  23. ปริปุณฺณตา : อิต. ความบริบูรณ์, ความเต็ม, ความเพียบพร้อม
  24. ปริปูรก : ค. ผู้สำเร็จสมความปรารถนา, ผู้ใส่, ผู้บรรลุ
  25. ปริภว : ป. ความเย้ยหยัน, ด่าว่า, ดูแคลน, ลำบาก
  26. ปริเภท : ป. ความยุยงให้แตกกัน
  27. ปริมณฺฑล : นป. วงกลม, วงรอบ; ความเรียบร้อย
  28. ปริมุตฺติ : อิต. ความพ้น, ความปลดปล่อย
  29. ปริยตฺต : นป. ความใคร่
  30. ปริโยทปนา : อิต. ความผ่องแผ้ว, ความบริสุทธิ์
  31. ปริวิตกฺก : ป. ความตรึก, ความคิดกังวล, ความคิดคำนึง
  32. ปริสกฺกน : นป. ความพยายาม, ความตะเกียกตะกาย, ความทดลอง
  33. ปริสงฺกา : อิต. ความสงสัย
  34. ปริสฺปฺปนา : อิต. การเลื้อย, การคลาน, การสั่นสะเทือน, ความสงสัย, ความลังเล
  35. ปริสฺสม : ป. ความดิ้นรน, ความเหน็ดเหนื่อย
  36. ปริสฺสย : ป. อันตราย, ความลำบาก
  37. ปริสุทฺธิ : อิต. ความหมดจด
  38. ปริสุสฺสน : นป. ความซูบซีด, ความเหี่ยวแห้ง, ความอิดโรย
  39. ปริโสธน : นป. ความบริสุทธิ์, การชำระล้าง
  40. ปริหานิ : อิต. ความเสื่อม, ความหายนะ
  41. ปลฺลาส : ป. ความผิดปกติ, ความเปลี่ยนแปลงไปในทางเสีย, การโกง
  42. ปลฺโลม : ป., นป. ความปลอดภัย, ความมั่นคง
  43. ปลาส : ป. ใบไม้; ความขึ้งเคียด, ความปองร้าย, การตีเสมอ
  44. ปลาสี : ค. มีความปองร้าย
  45. ปวฑฺฒน : นป. ความเจริญ, ความงอกงาม
  46. ปวตฺตน : นป. ความเป็นไป, การดำเนินไป, การเคลื่อนไป, การเป็นไป, การดำรงอยู่
  47. ปวตฺติ : อิต. ความเป็นไป, เรื่องราว, ข่าว
  48. ปวาหิตตฺต : นป. ความเป็นแห่งสิ่งซึ่งถูกนำไป, การถูกนำไป, การฝัดออก
  49. ปวิตกฺก : ป. ความตรึก, ความนึกคิด
  50. ปวิเวก : ป., ปวิเวกตา อิต. ความสงบสงัด, การแยกออกจากหมู่อยู่แต่ผู้เดียว
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | [1551-1600] | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3696

(0.0907 sec)