Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความสบายใจ, สบายใจ, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความสบายใจ, 3696 found, display 1951-2000
  1. มหากรุณา : อิต. มหากรุณา, ความสงสารใหญ่
  2. มหาการุณิก : (วิ.) ประกอบด้วยความกรุณามาก, ประกอบด้วยพระมหากรุณา เป็นคุณบทของพระพุทธเจ้า.
  3. มหากุสลจิตฺต : (นปุ.) จิตมีความเป็นใหญ่, จิตมีความดีมาก, มหากุศลจิต (มี ๘ ดวง).
  4. มหาตณฺห : (วิ.) มีความปรารถนาใหญ่, มีความปรารถนามาก, มีใจกว้างใหญ่, มีใจกว้างขวาง, มีตัณหามาก, มักใหญ่.
  5. มหาธิติ : (วิ.) มีความเพียรใหญ่, มีความเพียรมาก.
  6. มหาปณฺฑิต : (ปุ.) คนมีความรู้มาก, คนฉลาดมาก, คนมีปัญญามาก, มหาบัณฑิต เป็นคำเรียกผู้ที่สอบปริญญาโทของสถานต่างๆ ชั้นอุดม.
  7. มหาปธาน : (ปุ. นปุ.) ความเพียรอันบุคคลพึงตั้งไว้ใหญ่.
  8. มหามติ : อิต. ความรู้มาก, ความเห็นมาก
  9. มหาวิชฺชาลย มหาวิทฺยาลย : (ปุ.) สถานที่สำหรับเข้าไปศึกษาความรู้ชั้นสูง, มหาวิทยาลัย ชื่อสถานศึกษาความรู้ชั้นอุดม.
  10. มหาวิปากจิตฺต : (นปุ.) จิตมีผลแห่งความดีมาก, มหาวิปากจิต มี ๘ ดวง.
  11. มหาวีร : (วิ.) มีความเพียรมาก, มีความกล้ามาก.
  12. มหาสน : (นปุ.) แปลเหมือน มหานส. มหนฺต+อส. ธาตุ ในความกิน ยุ ปัจ.
  13. มหาสมณ : (ปุ.) สมณะผู้ใหญ่, สมณะผู้มีคุณธรรมและมีความรู้ความสามารถมาก, พระมหาสมณะเป็นพระนามของพระมหาเถระผู้ได้รับสถาปนาเป็นพระประมุขของสงฆ์ มีพระเกียรติสูงกว่าสมเด็จพระสังฆราช. สมัยใดทรงสถาปนาสมเด็จพระมหาสมณะ สมัยนั้นจะไม่ทรงสถาปนาสมเด็จพระมหาสังฆราช.
  14. มหาสย : (วิ.) มีความปรารถนาใหญ่, ฯลฯ, มีใจกว้าง, มีใจกว้างขวาง, ใจกว้าง. มหนฺต+อาสย.
  15. มหิจฺฉ : (วิ.) มีความปรารถนาใหญ่, ฯลฯ.
  16. มหิจฺฉตา : อิต. ความหิวกระหาย, ความอยาก
  17. มหิจฺฉา : (อิต.) ความปรารถนาใหญ่, ฯลฯ, ความมักมาก (เห็นแก่ได้) เป็นกิเลสที่หยาบกว่าอิจฉา.
  18. มหิทฺธิ มหิทฺธิก : (วิ.) มีความสำเร็จมาก, มีความงอกงามมาก.
  19. มาฆบูชา : (อิต.) การบูชาในวันเพ็ญเดือน ๓, การบูชาด้วยปรารภเหตุสำคัญของพุทธศาสนาซึ่งเกิดขึ้นในวันเพ็ญเดือนมาฆะ ถ้าปีใดมีอธิกมาสจะเลื่อนไปทำการบูชาเพ็ญกลางเดือน ๔ วันมาฆบูชามีความสำคัญ ดังนี้ – ๑.  เพราะตรงกับวันจาตุรงคสันนิบาต (ดูคำจตุรงฺคสนฺนิปาต ด้วย). พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ภายหลังจากตรัสรู้ได้ ๙ เดือน และ ๒. เพราะตรงกับวันปลงพระชนมายุสังขารในพรรรษาสุดท้าย ก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพาน ๓ เดือน.วันมาฆบูชา เป็นวันพระสงฆ์.
  20. มาติกา : (อิต.) แม่บท, หัวข้อ, หัวข้อใหญ่, ทางน้ำ, ทางน้ำไหล, ร่องน้ำ, ลำราง, เหมือง, คลอง, สิ่งเหล่านี้เป็นเหมือนแม่เพราะเป็นของตั้งอยู่ในความสำเร็จของปวงชน.
  21. มาตุคาม : (ปุ.) อัตภาพมีบ้านดังบ้านแห่งมารดา, อัตภาพถึงซึ่งความเป็นผู้เสมอด้วยมารดา, ชนผู้เป็นไปเหมือนแม่, ชนผู้มีเพศแม่, หญิงชาวบ้าน, หญิง, ผู้หญิง, หญิงมนุษย์. วิ. มาตุยา คาโม วิย คาโม ยสฺสา สา มาตุคาโม. มาตา วิย คจฺฉตีติ วา มาตุคาโม. มาตุยา สมภาวํ มิสฺสีภาวญฺจ คจฺฉตีติ วา มาตุคาโม. คมุ คมเน, โณ. มาตา วิย คสตีติ วา มาตุคาโม. คสฺ อทเน, โณ, สสฺส โม. มาตา วิย คายตีติ วา มาตุคาโม. เค สทฺเท, โม. แปลง เอ เป็น อา.
  22. มาท : (ปุ.) ความเมา, ความจองหอง. มทฺ อุมฺทาเท, โณ.
  23. มาน : (ปุ.) การถือตัว, ความถือตัว, ความหยิ่ง, ความเย่อหยิ่ง, ความจองหอง, ความไว้ตัว, ความไว้ยศ, ความแข็ง, ความพยายาม, ความกล้า, ความตั้งใจจริง, ความสำคัญใจ, ใจ, ดวงใจ, จิตใจ. มนฺ ญาเณ, โณ. มาน ปูชายํ, อ.
  24. มานชาติก : (วิ.) ผู้มีชาติแห่งความเย่อหยิ่ง, ฯลฯ.
  25. มานโส : (อัพ. นิบาต) โดยความจำแนกโดยมาน, โดยการจำแนกโดยการนับ. วิ. มาเนน วิภาเคน มานโส. โส ปัจ. วิภาคตัท.
  26. มานุญฺญก : (นปุ.) ความเป็นแห่งของที่เป็นที่ฟูใจ. มนุญฺญ+กณฺ ปัจ. ภาวตัท.
  27. มาร : (ปุ.) สภาพผู้ฆ่า, สภาพผู้ทำลาย (ความดี), มาร, มารคือกามเทพ. วิ. สตฺตานํ กุสลํ มาเรตีติ มาโร (ยังความดีของสัตว์ให้ตาย). กุสลธมฺเม มาเรตีติ วา มาโร (ยังกุศลธรรมให้ตาย). มรฺ ปาณจาเค, โณ. ทางศาสนาจัด กิเลสกาม เป็นมารวัตถุกาม เป็นบ่วงแห่งมาร.
  28. มารวิชย : (ปุ.) การชนะวิเศษซึ่งมาร, การชนะมาร, ความชนะมาร, มารวิชัย (ผู้ชนะมาร). เป็นพระนามของพระพุทธเจ้า, พระพุทธเจ้า. คำ มารวิชัย นี้ไทยใช้เรียก พระพุทธรูปปางชนะมาร คือ ประทับนั่งขัดสมาธิ พระหัตถ์ขวาพาดพระชานุ (เข่า).
  29. มาส : (ปุ. นปุ.) เดือน (ระยเวลา ๓๐ วัน). วิ. สตฺตานํ อายุ มิณนฺโต วิย สียติ อนฺตํ กโรตีติ มาโส. มา (นับ)+สา ธาตุ ในความจบ. สุด อ ปัจ. มิณนฺต มาจาก มาธาตุ นา และ อนฺต ปัจ. แปลง นา เป็น ณา รัสสะ. อีกอย่างหนึ่งเป็น มสิ ปริมาเณ, โณ.
  30. มิคาทก : (ปุ.) หมาไน. มิค+อทฺ ธาตุในความกิน ณฺวุ ปัจ.
  31. มิจฺฉตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งความเห็นผิด. ตฺต ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ อา เป็น อ. ความเห็นผิด. ตฺต ปัจ. สกัด.
  32. มิจฺฉาจาร : (ปุ.) ความประพฤติผิด. วิ. มิจฺฉาจรณํ มิจฺฉาจาโร. มิจฺฉา วา จาโร มิจฺฉาจาโร.
  33. มิจฉาทิฏฺฐ : (อิต.) ความเห็นผิด, ความเห็นที่ผิด, ลัทธิเป็นเครื่องเห็นผิด. มิจฺฉาทสฺสนํ มิจฺฉาทิฏฺฐ. แก้มิจฉาทิฏฐิ ได้โดย ๑.     ธัมมัสสวนะ ฟังธรรม ฟังบรรยายธรรม จากท่านผู้รู้ถูกต้อง เทศน์สอน อ่านหนังสือธรรม ที่ท่านผู้รู้ถูกต้องเขียน ๒. ธัมมานุสสรณะ หมั่นทบทวนคำสอน ๓.  ธัมมาสากัจฉา สนทนาธรรมกับท่านผู้รู้ถูกต้อง.
  34. มิจฺฉาทิฏฺฐิ : อิต. ความเห็นผิด
  35. มิจฺฉาวายาม : (ปุ.) ความเพียรผิด, ความเพียรที่ผิดจากคำสั่งสอนของศาสนา.
  36. มิจฺฉาสงฺกปฺป : (ปุ.) ความดำริพร้อมผิด, ความดำริผิด, ความดำริในทางผิด, ความดำริในทางที่ผิด, ความคิดผิด, ความคิดไปในทางที่ผิด.
  37. มิจฺฉาสงฺกปฺปโคจร : (วิ.) มีความดำริผิดเป็นที่จรไปแห่งอินทรีย์, มีความดำริผิดเป็นที่เที่ยวไปราวกะว่าที่เป็นที่เที่ยวไปแห่งโค, มีความดำริผิดเป็นอารมณ์.
  38. มิจฺฉาสติ : (อิต.) ความระลึกผิด, ความระลึกไปในทางที่ผิด.
  39. มิจฺฉาสมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่นแห่งจิตผิด, ความตั้งใจมั่นไปในทางที่ผิด, สมาธิผิด.
  40. มิจฺฉาอาชีว : (ปุ.) ความเป็นอยู่ผิด, การเลี้ยงชีวิตในทางที่ผิด, อาชีพผิด, มิจฉาอาชีวะ มิจฉาชีพ คือการหาเลี้ยงชีวิตด้วยการประกอบกิจที่ผิดกฎหมายและศีลธรรม.
  41. มิชฺชน : (นปุ.) ความเจือ, ความเยื่อใย, ความเอ็นดู, ความรัก, ความสนิท. มิทฺ สิเนหเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  42. มิตฺต : (ปุ.) คนรักกัน, คนมีความเยื่อใยกัน, เพื่อน, มิตร. วิ. มิโนตี อนฺโตติ มิตฺโต. สพฺพคุเยฺหสุ มียตีติ วา มิตฺโต (ไว้วางใจในความลับ). มิ ปกฺขิปเน, โต, ทฺวิตฺตํ. มิชฺชตีติ วา มิตฺโต. มิทฺ สิเนหเน. มิทติ อตฺตนิ ปรนฺติ วา มิตฺโต (ผูกคนอื่นไว้ในตน). มิทฺ พนฺธเน. แปลง ทฺ เป็น ตฺ. ส. มิตฺร.
  43. มิทฺธ : (นปุ.) ความท้อแท้, ความเฉื่อยชา, ความเชื่อมซึม, ความหาวนอน, ความง่วง, ความง่วงงุน, ความว่วงโงก. สภาวะคร้านกาย ชื่อว่า มิทธะ. มิทฺ การิยกฺขมเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ. มิหฺ สติวิหนเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบ หฺ หรือ มิหฺ อสามตฺถิเย.
  44. มิทฺธี : (วิ.) มีความท้อแท้, ฯลฯ.
  45. มุขฺยา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เป็นประธาน, ความเป็นหัวหน้า, ความเป็นประธาน. ณฺย ปัจ.
  46. มุขรตา : อิต. ความเป็นผู้ปากจัด
  47. มุขสงฺโกจน : นป. การทำปากหมุบหมิบแสดงความไม่พอใจ
  48. มุจฺจน : (นปุ.) การหลุด, การพ้น, การปล่อย, การวาง, ความหลุด, ฯลฯ. มุจฺ โมจเน, ยุ. ซ้อน จฺ.
  49. มุจฺฉา : (อิต.) ความวิงเวียน, ความสยบ (ฟุบลง) , ความสลบ (แน่นิ่ง หมดความรู้สึก), การวิงเวียน, การเป็นลม. มุจฺฉฺ โมหสมุสฺสเยสุ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  50. มุญฺจนเจตนา : (อิต.) ความตั้งใจในขณะให้, ความตั้งใจให้ในขณะสละ, มุญฺจนเจตนา (ขณะให้ก็เต็มใจให้ ให้ด้วยความปีติ).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | [1951-2000] | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3696

(0.0778 sec)