Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความสบายใจ, สบายใจ, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความสบายใจ, 3696 found, display 2601-2650
  1. อกิริยทิฏฐิ : (อิต.)ความเห็นว่ากรรมอันบุคคลทำแล้วไม่เป็นอันทำ. ความเห็นว่าบุญหรือบาปที่บุคคลทำแล้วไม่เป็นอันทำ คือเห็นว่าทำดีไม่ได้ดี ทำชั่วไม่ได้ชั่ว.
  2. อกิลมน : (วิ.) มีความลำบากหามิได้, ไม่มีความลำบาก, มิใช่ความลำบาก, มีความเหน็ดเหนื่อยหามิได้, ฯลฯ นปุพฺโพ, กิลมุ คิลาเน, ยุ.
  3. อกุปฺปตา : อิต. ความไม่กำเริบ, ความไม่หวั่นไหว, ความถาวร
  4. อกุสล : (วิ.) ผู้มีความฉลาดหามิได้, ผู้มีความดีหามิได้, วิ. นตฺถิ ตสฺส กุสลนฺติอกุสลํ. มิใช่ความฉลาด, มิใช่ความดี วิ.น กุสลํ อกุสลํ. ส. อกุศล.
  5. อกุสลกมฺม : (นปุ.) กรรมมิใช่ความฉลาด, กรรมมิใช่ความดี, กรรมชั่วร้าย, อกุศลกรรม (โทษ บาป).
  6. อกุสลกมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรมมิใช่กุศล, ทางแห่งความชั่ว, อกุศลกรรมบถ มี ๑๐ คือกายทุจริต๓ วจีทุจริต๔ มโนทุจริต๓.
  7. อกุสลจิตฺต : (นปุ.) จิตอันเป็นอกุศล, อกุศลจิต คือจิตที่มีความชั่ว เป็นจิตที่ประกอบด้วยอกุศลเจตสิก ได้แก่ โลภมูลจิต ๘โทสมูลจิต ๒ โมหมูลจิต ๒.
  8. อกุสลเจตนา : (อิต.) ความคิดอันเป็นบาป, ความนึกอันเป็นบาป, ความตั้งใจอันเป็นบาป, ความคิดชั่ว, ความคิดอันเป็นอกุศล, เจตนาอันเป็นอกุศล. ส. อกุศลเจตนา.อ
  9. อกุสลมูล : (นปุ.) รากเหง้าแห่งความชั่ว, รากเหง้าแห่งบาป, รากเหง้าแห่งอกุศล มี ๓ คือ โลภะ โทสะ และ โมหะ.
  10. อคฺคตา : อิต. ความเป็นผู้เลิศ, ผู้เลิศ; ความยอดเยี่ยม
  11. อคฺคหิตตฺต : (นปุ.) ความที่แห่งบุคคล เป็นผู้มีจิตอันใคร ๆ เชื่อไม่ได้, ความที่แห่งจิต เป็นจิตอันใคร ๆ ไว้ใจไม่ได้.
  12. อคฺฆปท : นป. ความมีค่า, ความมีราคา
  13. อครุ : (ปุ.) ความไม่หนักใจ, ความเบาใจ.
  14. อครุ อคลุ อคฬุ : (นปุ.) ความไม่หนักใจ, ความเบาใจ.
  15. อฆ : (นปุ.) อากาศ, กลางหาว, วิ. น หญฺญเตติ อฆํ. นปุพฺโพ, หน หึสายํ, อ, หนสฺส โฆ. บาป, ความชั่ว. วิ, สาธูหิ นหนฺตพฺพนฺติ อฆํ. นปุพฺโพ, หนฺติ ธญฺญมิตฺยฆํ.นปุพฺโพ, หนฺ คติยํ, อ. อฆ.ปาปกรเณ วา.เป็นปุ. ? ส.อฆ.
  16. องฺคปจฺจงฺคตา : อิต. ความถึงพร้อมด้วยองค์ คือ ผู้มีร่างกายสมบูรณ์
  17. องฺคานุสารี : (ปุ.) ลมอันแล่นไปตามซึ่งอวัยวะทั้งปวงเป็นปกติ, ลมอันพัดไปตามอวัยวะทั้งปวงเป็นปกติ, ลมอันมีปกติแล่นไปตามอวัยวะทั้งปวง. วิเคราะห์ว่าสพฺพงฺเค อนุสรติ สีเลนาติ องฺคานุสารี.เป็นต้น.สพฺพงฺค บทหน้า อนุบทหน้าสรฺ ธาตุในความแล่นไป ณี ปัจ.ลบ.สพฺพ. แปลว่าลมพัดไปตามตัว โดยไม่ลงในอรรถสีลก็ได้.
  18. อจฺจน : (นปุ.) การถวายการเซ่นสรวง, การบูชา, ความนับถือ.วิ. อจฺจียเตติ อจฺจนํ อจฺจนา วา. อจฺจฺปูชายํ, ยุ
  19. อจฺจนฺตทุสฺสีลฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีศีลชั่วเป็นไปล่วงซึ่งส่วนสุด, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีศีลอันโทษประทุษร้ายแล้วโดยแท้, ความเป็นผู้ทุศีลล่วงส่วน.
  20. อจฺจนา : (อิต.) การถวายการเซ่นสรวง, การบูชา, ความนับถือ.วิ. อจฺจียเตติ อจฺจนํ อจฺจนา วา. อจฺจฺปูชายํ, ยุ
  21. อจฺจย : (ปุ.) การล่วงไป, การก้าวล่วง, การเป็นไปล่วง, การล่วงละเมิด, การดูหมิ่น, ความล่วงไป, ฯลฯ, ความผิด, โทษอันเป็นไปล่วง, โทษอันล่วงเกิน, กาลเป็นที่เป็นไปล่วง, ความล่วงลับไป, ความตาย, วิ. อติกฺกมิตฺวา อยนํ อจฺจโย.อติปุพฺโพ, อิ คติยํ, โณ. ส. อตฺยยฺ.
  22. อจฺจสรา : อิต. ความหยิ่ง, ความถือตัว
  23. อจฺจุณฺณ : ๑. ป. ความร้อนจัด ; ๒. ค. ร้อนจัด, เดือดพล่าน
  24. อจฺโจทร : นป. การกินมาก, ความตะกละ
  25. อจฺฉมฺภี : (วิ.) ไม่มีความสะดุ้ง, ไม่มีความหวาดเสียว, ไม่มีความครั่นคร้าม, ไม่สะดุ้ง, ฯลฯ. น+ฉมฺภีซ้อน จ.
  26. อจฺฉริย : ๑. นป. ความอัศจรรย์; ๒. ค. น่าอัศจรรย์, น่าแปลกใจ
  27. อจฺฉริยพฺภูตชาต : (วิ.) มีเหตุน่าอัศจรรย์ไม่เคยเป็นแล้วเกิดแล้ว, มีความอัศจรรย์ไม่เคยเป็นแล้วเกิดแล้ว, มีเหตุอันอัศจรรย์เกิดแล้ว.
  28. อจฺฉริยอจฺฉิริยอจฺเฉร : (นปุ.) เหตุควร, เพื่ออันปรบซึ่งมือ, เหตุน่าอัศจรรย์, ความอัศจรรย์.วิ. อจฺฉรํปหริตุยุตฺตนฺติอจฺฉริยํ. อาปุพฺโพ, จรฺ จรณคตีสุ, กฺวิ.กัจฯ ๖๓๙ อาเทส จรฺเป็นจฺฉรจฺฉริยและ จฺเฉร รัสฺสะอา บทหน้าเป็นอ
  29. อจฺฉริย อจฺฉิริย อจฺเฉร : (นปุ.) เหตุควร, เพื่ออันปรบซึ่งมือ, เหตุน่าอัศจรรย์, ความอัศจรรย์. วิ. อจฺฉรํ ปหริตํ ยุตฺตนฺติ อจฺฉริยํ. อาปุพฺโพ, จรฺ จรณคตีสุ, กฺวิ. กัจฯ ๖๓๙ อาเทส จรฺ เป็น จฺฉร จฺฉริย และ จฺเฉร รัสฺสะ อา บทหน้าเป็น อ.
  30. อจลอจฺจจล : (ปุ.) ความไม่ไหว, ฯลฯ, ประเทศ ไม่มีความหวั่นไหว, ภูเขา, สลัก, ลิ่ม.
  31. อจล อจฺจจล : (ปุ.) ความไม่ไหว, ฯลฯ, ประเทศ ไม่มีความหวั่นไหว, ภูเขา, สลัก, ลิ่ม.
  32. อจินฺเตยฺย : (วิ.) อันบุคคลไม่ควรคิด, อันใครๆไม่ควรคิด(พ้นความคิด), ไม่ควรคิด.
  33. อชฺชว : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ซื่อตรง, ความเป็นแห่งคนซื่อตรง, ความเป็นคนซื่อตรง.วิ. อุชุโน ภาโว อชฺชวํ.ณปัจ.ภาวตัท. แปลง อุ เป็น อ แปลง อุ ที่ ชุเป็น อว แปลง ช เป็น ชฺช. ความซื่อตรง.ณ ปัจ. สกัต.
  34. อชฺชว, อาชฺชว : ป., นป. ความซื่อตรง
  35. อชฺโชต : (ปุ.) ความรุ่งเรือง, แสง, แสงสว่าง.อาปุพฺโพ, ชุตฺ ทิตฺติยํ, โณ. แปลง อุ เป็นโอ รัสสะ ซ้อน ชฺ.
  36. อชฺฌาจาร : (ปุ.) ความประพฤติล่วง, ความประพฤติล่วงมารยาท, ความล่วง (หมายเอาเมถุน), อัชฌาจารอัธยาจาร(การละเมิดประเพณีการเสพเมถุนความประพฤติชั่วความประพฤติละเมิดพระวินัย)ฏีกา ฯแก้เป็นมริยาทาติกฺกมการล่วงละเมิดมารยาท.
  37. อชฺฌาชีว : ป. ความเป็นอยู่อย่างเข้มงวด, วิถีชีวิต
  38. อชฺฌาสย : (ปุ.) ฉันทะมานอนทับซึ่งตน, ฉันทะเป็นที่มานอนทับ, ฉันทะเป็นที่มานอนทับแห่งจิตอันยิ่ง, สภาพอันอาศัยซึ่งอารมณ์เป็นไป, สภาพที่จิตอาศัย, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความจุใจ, ความเอาใจใส่, ความประสงค์, ความนิยม, อัชฌาสัย, อัธยาศัย (นิสัยใจคอ).วิ.จิตฺตมชฺฌาคนฺตฺวาสยตีติอชฺฌาสโย.อธิอาปุพฺโพ, สิปวตฺติยํ, อ.คำอัชฌาในวรรณคดี ตัดมาจากคำนี้.ส.อธฺยาศย.
  39. อชฺฌาสยตา : อิต. ความปรารถนา, ความต้องการ
  40. อชฺฌุเปกฺขน : นป. อชฺฌุเปกฺขนา อิต. อุเบกขา, ความวางเฉย, การเฝ้าดู
  41. อชฺโฌสาน : (นปุ.) การหยั่งลง, ความหยั่งลง.ความติดใจ, ความชอบใจ, ความพอใจ.อธิ อว ปุพฺโพ, สา โอสานอสฺสาทเนสุ, ยุ
  42. อชานน : ป., นป. ความไม่รู้, อวิชชา
  43. อญฺจติ : ก. ๑. ถึงความพินาศ ๒. บูชา
  44. อญฺชลิกา : อิต. การยกมือขึ้นแสดงความเคารพ
  45. อญฺชลิอญฺชลีอญฺชุลี : (ปุ.) การประนมมือ, การไหว้ (ส่วนใหญ่ใช้ในความหมายว่าประนมมือ), ประนมมือ, กระพุ่มมือ, กระพุ่มมืออันรุ่งโรจน์โดยยิ่ง, อัญชลี, อัญชุลี, ชุลึ (ตัด อัญ ออก).วิ. อญฺเชติภตฺติ มเนน ปกาเสตีติ อญฺชลิ อญฺชลี วา, อญฺชฺ ปกาสเน, อลิ, อลี.สนามหลวงแผนกบาลี ปี ๒๕๑๗ เฉลยเป็นอิต.ส.อญฺชลิ.
  46. อญฺชลิ อญฺชลี อญฺชุลี : (ปุ.) การประนมมือ, การไหว้ (ส่วนใหญ่ใช้ในความหมายว่า ประนมมือ), ประนมมือ, กระพุ่มมือ, กระพุ่มมืออันรุ่งโรจน์โดยยิ่ง, อัญชลี, อัญชุลี, ชุลึ (ตัด อัญ ออก). วิ. อญฺเชติ ภตฺติ มเนน ปกาเสตีติ อญฺชลิ อญฺชลี วา, อญฺชฺ ปกาสเน, อลิ, อลี. สนามหลวง แผนกบาลี ปี ๒๕๑๗ เฉลยเป็น อิต. ส. อญฺชลิ.
  47. อญฺญตฺต : (นปุ.) ความเป็นอย่างอื่น, ความเป็นประการอื่น.วิ. อญฺญสฺสปการสฺสภาโวอญฺญตฺตํ
  48. อญฺญถต : นป. ความเปลี่ยนแปลง, การเป็นอย่างอื่น, ความแตกต่าง
  49. อญญถตฺต : (นปุ.) ความเป็นโดยประการอื่น, ความเป็นอย่างอื่น.
  50. อญฺญถาภาว : (ปุ.) ความเป็นโดยประการอื่นความเป็นอย่างอื่น, ความแปรปรวน, ความเปลี่ยนแปลง, ความตรงกันข้าม, ความต่อสู้, วิปลาส.วิ.อญฺเญน ปกาเรนภาโว อญฺญถาภาโว.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | [2601-2650] | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3696

(0.1577 sec)