Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความสบายใจ, สบายใจ, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความสบายใจ, 3696 found, display 451-500
  1. ฆมฺมาภิตตฺต : (วิ.) อันความร้อนแผดเผาแล้ว.
  2. ฆมฺมาภิภูต, - ภิตตฺต : ค. อันความร้อนแผดเผาแล้ว, ถูกแผดเผาแล้ว
  3. ฆานปสาท : (ปุ.) ประสาทของจมูก, ฆาน- ประสาท (เส้นใยสำหรับรับความรู้สึก ทางจมูก).
  4. ฆานินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่ในการสูดดม อินทรีย์คือจมูก, ฆานินทรีย์ (สิ่งที่เป็น ใหญ่ในหน้าที่ดม).
  5. โฆสปฺปมาณิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยประมาณ ในเสียง (เกิดความเลื่อมใสด้วยฟังเสียง ไพเราะ), ผู้ถือประมาณในเสียง. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  6. โฆสา : (อิต.) เสียง, เสียงกึกก้อง, เสียงป่าวร้อง, ความกึกก้อง. ฆุสนํ โฆโส. ฆุสฺ สทฺเท, โณ.
  7. จกฺก : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งการไป วิ. กโรติ คมน มเนนาติ จกฺกํ. กรฺ กรเณ, อ. เทว๎ภาวะ ก แล้วแปลง ก เป็น จ แปลง ก ตัวธาตุเป็น กฺก ลบที่สุดธาตุ. วัตถุอันหมุน ไป, ล้อ, ล้อรถ. จกฺ ปริวตฺตเน, โก. เสนา (พล กองพล), พล, กองพล, กองทัพบก. วิ. กรียเต วิคฺคโห อเนนาติ จกฺกํ. จักรชื่อ เครื่องประหารอย่างหนึ่ง มีรูปกลม มีแฉก โค้งโดยรอบ. วิ. จกฺเกติ พยฺถติ หึสติ เอเตนาติ จกฺกํ. จกฺกฺ พฺยถเน, อ. จักร ชื่อ สิ่งที่มีรูปกลม มีฟันเฟืองโดยรอบ, สมบัติ ,คุณสมบัติความดี,ความเจริญ, เครื่องหมาย , ลักษณะ( ลายจักรที่ฝ่าเท้าของคนมีบุญ ) ,ธรรม (ธรรมจักร), ข้อสั่งสอน, คำสั่งสอน จักร(มณฑลหรือวงรอบ), อุ อาณาจักร, ทาน(ไทยธรรม), กอง, ส่วน, คำ, “จักร” ไทย ใช้เรียกชื่อเครื่องกล เช่น เครื่องจักร รถจักร เป็นต้น. ส. จกฺร.
  8. จกฺกภญฺชนี : ค. ผู้หักรานจักร, ผู้ทำลายความดีความเจริญ
  9. จกฺกวฺห จกฺกวาก : (ปุ.) นกจักพราก, นกจาก พราก, ห่านแดง. วิ. จกฺก มิจฺจโวฺห ยสฺส โส จกฺกโวฺห. ศัพท์หลัง จกฺกบทหน้า วจฺ ธาตุในความกล่าว ณ ปัจ. ทีฆะ แปลง จ เป็น ก. แปลว่า ห่าน ก็มี.
  10. จกฺกวาลรชฺช : นป. ราชสมบัติในรอบจักรวาล, ความเป็นพระราชาผู้มีอำนาจทั่วจักรวาล
  11. จกฺขุกรณ, - กรณี : ค. ซึ่งกระทำปัญญาจักษุ, ผู้ทำให้เกิดปัญญาจักษุ, ผู้ทำให้เกิดความเห็นชัดด้วยใจ
  12. จกฺขุปสาท : (ปุ.) ประสาทของตา, จักษุประสาท คือเส้นสำหรับนำความรู้สึกของตา ส่วน สำคัญของตาที่ทำให้มองเห็น.
  13. จกฺขุวิญญาณ : (นปุ.) ความรู้อันอาศัยประสาท ตาเกิดขึ้น, ความรู้ทางตา.
  14. จกฺขุวิญฺญาณ : นป. จักษุวิญญาณ, ความรู้ที่อาศัยตาเกิดขึ้น
  15. จณฺฑิกฺก : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนดุร้าย, ฯลฯ จณฺฑาล + กณฺ ปัจ. ภาวตัท แปลง อา เป็น อิ แปลง ล เป็น ก.
  16. จตฺตตฺต : นป. ความเป็นสิ่งที่ถูกสละ, ความเป็นสิ่งที่ถูกทอดทิ้ง, การบริจาค
  17. จตุตฺถมคฺคญาณ : (นปุ.) ญาณ (ความรู้) อัน สัมปยุตแล้วด้วย มรรคที่สี่. เป็น ต.ตัป. มี วิเสสนบุพ.กัม.เป็นท้อง.
  18. จตุธาตุววฏฐาน : (นปุ.) การกำหนดซึ่งธาตุสี่, ความกำหนดธาตุสี่.
  19. จตุปจฺจยสนฺโตส : (ปุ.) ความยินดีพร้อมใน ปัจจัยสี่, ความยินดีในปัจจัยสี่, ความพอ ใจในปัจจัยสี่ ( ตามมีตามได้ ).
  20. จตุปริวฏฏ : อ. โดยเวียนรอบสี่, (รู้เบญจขันธ์ตามความเป็นจริง) เป็นสี่ขั้น
  21. จตุพคฺค จตุพฺพคฺค จตุวคฺค : (ปุ.) หมวดแห่ง วัตถุสี่ที่ควรแสวงหา ได้แก่ธรรม คือหน้า ที่ ๑ กามะคือความสุข ๑ อรรถะ คือ ทรัพย์ สมบัติ ๑ โมกขะ คือ พระนิพพาน ๑ วิ จตฺตาโร วคฺคา โมกฺขสหิตา ธมฺมกามตฺถา จตุพคฺโค จตุพฺพคฺโค วา จตุวคฺโค วา, อภิฯ
  22. จตุพฺพิปลฺลาส : ป. วิปัลลาสสี่, ความเคลื่อนสี่อย่าง, ความเปลี่ยนแปลงสี่อย่าง
  23. จตุรงฺคตม : (ปุ. นปุ.) ความมืดมีองค์สี่ คือ ค่ำ ป่าชัฏ เมฆทึบ และเที่ยงคืน.
  24. จตุรสฺส : (วิ.) มีมุมสี่ ( สี่มุม ) วิ. จตฺตาโร อํสา ยสฺสา สา จตุรสฺสา ลบนิคคหิต รฺ อาคม แปลง ส เป็น สฺส ฎีกาเวสฯ ๕๓๑ ไทย ใช้จตุรัส จัตุรัส ในความหมายว่าสี่เหลี่ยม ด้านเท่า.
  25. จตุราริยสจฺจ : (นปุ.) ของจริงอันประเสริฐสี่, ความจริงอันประเสริฐสี่ประการ. จตุ+ อริยสจฺจ รฺ อาคม.
  26. จน, จน : อ. เป็นอสากัลยัตถวาจกนิบาตบ่งความเพียงบางส่วนเช่นในคำว่า กุทา+จน = กุทาจน = ในกาลบางคราว, บางครั้งบางคราว เป็นต้น
  27. จปลตา : อิต. ความกวัดแกว่ง, ความหวั่นไหว
  28. จปลนา : (อิต.) ความกลับกลอก, ฯลฯ จฺปุ ธาตุ ยุ ปัจ. ลฺ อาคม ท่ามกลาง อาอิต.
  29. จย : (ปุ.) การก่อ, การสะสม, การรวบรวม, ความสะสม, ความรวบรวม, ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, หมวด, ดินที่ถม อุ. จโย ปริปตติ. ดินที่ถมพังทะลาย. จิ จเย, อ.
  30. จรณวนฺตุ : ค. ผู้มีจรณะ, ผู้มีความประพฤติชอบ
  31. จริต : (นปุ.) การเที่ยวไป (ของจิต) ความประ พฤติ, เรื่องราว, นิสัย, พื้น, พื้นเพ, พื้นเพ ของจิต, จริต, (พื้นเพของจิต ของแต่ละบุค คล ซึ่งจะหนักไปในทางใดทางหนึ่งในหก ทาง ดูจริต ๖ ในหลักธรรมะ) จรฺ จรเณ, โต, อิอาคโม.
  32. จริต, - ตก : นป. จริต, ความประพฤติ, นิสัย; ชีวิต, ความเป็นอยู่
  33. จริตฺต จริตฺร : (นปุ.) ความประพฤติ. ศัพท์แรก ต. ปัจ. แปลง ต เป็น ตฺต ศัพท์หลัง ตฺรณฺ ปัจ. อิ อาคม.
  34. จริย : (นปุ.) การเที่ยวไป, ความประพฤติ
  35. จริยา : (อิต.) ความประพฤติ, กิริยาที่ควร ประพฤติ, จริยา, จรรยา. วิ. จรณํ จริยา. จริตพฺพนฺติ วา จริยา. จรฺ จรเณ, โณฺย, อิอาคโม. รูปฯ ๖๔๔. ส. จรฺยา.
  36. จลน : (วิ.) ผู้มีความหวั่นไหวเป็นปกติ, ฯลฯ. วิ. จลิตุ สีลํ อสฺสาติ จลโน. ฯลฯ.
  37. จวน : (นปุ.) การเคลื่อน, การแตกดับ, การตาย, ความเคลื่อน, ฯลฯ. จุ จวเน, ยุ.
  38. จวนตา : อิต. ความเป็นคืออันเคลื่อน, ความจุติ, ความเคลื่อน
  39. จห : (ปุ.) ความตระเกียกตระกาย, ความพยา ยาม, ความสรรเสริญ. จหฺ ปริสกฺกนปริก- ตฺถเนสุ, อ.
  40. จาค : (ปุ.) การสละ, การให้, การให้ปัน, การบริจาค, ความสละ, ฯลฯ. จชนํ จาโค. จชฺ หานิมฺหิ (สละ), โณ. แปลง ช เป็น ค หรือตั้งหา ธาตุในความสละ วาง ปล่อย ณ ปัจ. เทว๎ภาวะ หา แปลง หา เป็น จา แปลง ห ตัวธาตุเป็น ค. ส. ตฺยาค.
  41. จาคกถา : อิต. จาคกถา, กถาว่าด้วยการบริจาค, การสนทนากันในเรื่องความเสียสละ
  42. จาควนฺตุ : ค. ผู้มีจาคะ, ผู้มีความเผื่อแผ่, ผู้มีความเสียสละ
  43. จาคสมฺปทา : อิต. จาคสัมปทา, ความถึงพร้อมด้วยการบริจาค
  44. จาคาธิฏฐาน : ป. ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจคือจาคะ, ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจคือการสละสิ่งที่เป็นข้าศึกแก่ความจริงใจ (อธิษฐานธรรมอย่างหนึ่งในอธิษฐานธรรมสี่)
  45. จาฏกมฺยตา : อิต. ความแกล้งประพฤติถ่อมตน, การประจบ, การสรรเสริญ, การเยินยอ
  46. จาตุริย : นป. ความฉลาด, ความชำนาญ, ความสันทัด
  47. จาปลฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ประดิษฐ์ ประดอย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ประพฤติ โดยพลัน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้พลิก แพลง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้โลเล, ฯลฯ. จปลสฺส ภาโว จาปลฺยํ. ณฺย ปัจภาวตัท. การชอบตกแต่ง, ฯลฯ. ณฺย ปัจ. สกัด.
  48. จาร : (ปุ.) คนสอดแนม, การเที่ยวไป, การเป็น ไป, ความประพฤติ. จรฺ จรเณ, โณ.
  49. จารณ : ค., นป. ผู้เที่ยวไป, ผู้ประพฤติ; การให้เที่ยวไป, การจัดการ, ความประพฤติ
  50. จาริตฺต : (นปุ.) ความประพฤติ, ความสมสู่ อู่. จาริตฺตํ อาปชฺชิตฺวา ถึงความสมสู่, จารีต. รูปฯ ๖๕๑ ให้ วิ. ว่า จริตานํ คโณ จาริตฺตํ. อถวา, จรนฺติ ตสฺมึ ปริปูริการิตายาติ จาริตฺตํ. จรฺ จรเณ, ณิตฺตปจฺจโย. ไทย จารีต คือสิ่งที่ประพฤติต่อๆ กันมาประเพ ณีที่ถือสืบต่อกันมาหรือการปฏิบัติที่ทำเป็น ประจำ มักพูดว่า จารีตประเพณีใครฝ่าฝืน ถือว่าเป็นผิดเป็นชั่ว.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | [451-500] | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3696

(0.0918 sec)